Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/84270
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Nattama Pongpairoj | - |
dc.contributor.author | Tingting Yang | - |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. Graduate School | - |
dc.date.accessioned | 2024-02-05T10:09:40Z | - |
dc.date.available | 2024-02-05T10:09:40Z | - |
dc.date.issued | 2023 | - |
dc.identifier.uri | https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/84270 | - |
dc.description | Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2023 | - |
dc.description.abstract | This study investigated the acquisition of English irregular past tense morphology by L1 Chinese learners. The participants consisted of 60 L1 Mandarin-speaking learners of English divided into two groups according to their English proficiency levels, i.e., the intermediate and the advanced levels. The methodology included a Fill-in-the-Blank Test, a Grammaticality Judgment Task, and an interview. Based on the Error Analysis Theory (Richards,1974; Ellis,1994), three research hypotheses were formulated. First, it was hypothesized that language proficiency has an impact on the acquisition of English irregular past tense by L1 Chinese learners and the findings conformed to the hypothesis. The results showed that correct English irregular past tense verb use in the intermediate group was significantly lower than that in the advanced group in both tests (p | - |
dc.description.abstractalternative | งานวิจัยนี้มุ่งศึกษาเรื่องการรับหน่วยคำที่แสดงกาลอดีตรูปไม่ปกติในภาษาอังกฤษโดยผู้เรียนที่มีภาษาจีนเป็นภาษาที่หนึ่ง ผู้เข้าร่วมวิจัยในครั้งนี้ประกอบด้วยผู้เรียนที่พูดภาษาจีนกลาง (Mandarin) จำนวน 60 คน แบ่งออกเป็นสองกลุ่มตามระดับสมิทธิภาพภาษาอังกฤษระดับกลางและระดับสูง เครื่องมือวิจัยที่ใช้เก็บข้อมูลประกอบด้วย แบบทดสอบเติมคำในช่องว่าง (Fill-in-the-Blank Test) แบบทดสอบตัดสินความถูกต้องทางไวยากรณ์ (Grammaticality Judgment Task) และการสัมภาษณ์ โดยตั้งสมมติฐานไว้ 3 ข้อ ตามทฤษฎีการวิเคราะห์ข้อผิดพลาดทางไวยากรณ์ (Error Analysis Theory) (Ellis, 1994; Richards, 1974) สมมติฐานข้อที่ 1 คือ สมิทธิภาพด้านภาษาส่งผลต่อการรับหน่วยคำที่แสดงกาลอดีตรูปไม่ปกติในภาษาอังกฤษโดยผู้เรียนที่มีภาษาจีนเป็นภาษาที่หนึ่ง พบว่าผลการวิจัยจากแบบทดสอบทั้งสองชุดมีความสอดคล้องกับสมมติฐาน ข้อค้นพบจากการวิจัยชี้ให้เห็นว่า การใช้หน่วยคำที่แสดงกาลอดีตรูปไม่ปกติในภาษาอังกฤษได้อย่างถูกต้องของผู้เรียนที่มีสมิทธิทางภาษาระดับกลางนั้นอยู่ในระดับที่น้อยกว่าผู้เรียนที่มีสมิทธิภาพทางภาษาระดับสูงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05) สมมติฐานข้อที่ 2 คือ ตามการวิเคราะห์ข้อผิดพลาดทางไวยากรณ์ ผู้เรียนที่มีภาษาจีนเป็นภาษาที่หนึ่งแสดงข้อผิดพลาดทางไวยากรณ์หน่วยคำที่แสดงกาลอดีตในภาษาอังกฤษ ทั้งในรูปแบบความผิดพลาดจากปัจจัยระหว่างภาษาและความผิดพลาดจากปัจจัยในภาษาเป้าหมาย โดยผลการวิจัยมีความสอดคล้องกับสมมติฐานที่สอง ซึ่งข้อผิดพลาดทางไวยากรณ์ที่พบแสดงให้เห็นถึงการแทรกแซงจากปัจจัยระหว่างภาษาและปัจจัยในภาษาเป้าหมาย กล่าวคือ ในด้านปัจจัยระหว่างภาษา ปัญหาการรับรู้และการผลิตหน่วยคำที่แสดงกาลอดีตรูปไม่ปกติในภาษาอังกฤษโดยผู้เรียนชาวจีนมีสาเหตุมาจากการไม่มีหน่วยคำที่แสดงกาลอดีตในภาษาจีน นอกจากนี้ ปัจจัยในภาษาเดียวกันมีผลต่อการการรับรู้และการผลิตหน่วยคำที่แสดงกาลอดีตรูปไม่ปกติในภาษาอังกฤษอีกด้วย สมมติฐานข้อที่ 3 คือ อิทธิพลข้ามภาษา การสรุปเกินการ และการมีมโนทัศน์ที่ผิดพลาดส่งผลต่อการรับหน่วยคำที่แสดงกาลอดีตรูปไม่ปกติในภาษาอังกฤษของผู้เรียนชาวจีน ข้อค้นพบจากการวิจัยแสดงให้เห็นว่า นอกจากปัจจัยการแทรกแซงจากภาษาที่หนึ่งแล้ว ปัญหาการรับหน่วยคำกาลอดีตยังมีสาเหตุมาจากปัจจัยการสรุปเกินการอีกด้วย กล่าวคือ ในแบบทดสอบด้านการรับรู้ พบว่ามีการนำหน่วยคำที่แสดงกาลอดีตรูปปกติ (‘-ed’) มาใช้กับกริยาที่ต้องผันรูปไม่ปกติมากถึงร้อยละ 15.4 และในแบบทดสอบด้านการผลิต ร้อยละ 38.9 ทั้งในกลุ่มผู้เรียนที่มีระดับสมิทธิภาพระดับกลางและกลุ่มผู้เรียนที่มีระดับสมิทธิภาพระดับสูง นอกจากนี้ ปัญหาการรับหน่วยคำที่แสดงกาลอดีตยังเป็นผลมาจากการที่ผู้เรียนมีมโนทัศน์ที่ผิดพลาด ซึ่งอาจเป็นผลจากการเรียนการสอน กล่าวคือ การสอนเรื่องหน่วยคำที่แสดงกาลอดีตรูปไม่ปกติในประเทศจีนมักเน้นการเรียนรู้แบบท่องจำ จึงส่งผลให้ผู้เรียนเรียนรู้กริยากลุ่มนี้ในรูปแบบเดียวกับการเรียนรู้คำศัพท์ ผลลัพธ์งานวิจัยนี้ได้ให้นัยทั้งด้านทฤษฎีและด้านการเรียนการสอนซึ่งเกี่ยวเนื่องกับการรับภาษาที่สอง | - |
dc.language.iso | en | - |
dc.publisher | Chulalongkorn University | - |
dc.rights | Chulalongkorn University | - |
dc.subject.classification | Arts and Humanities | - |
dc.subject.classification | Arts, entertainment and recreation | - |
dc.subject.classification | Foreign languages | - |
dc.title | The acquisition of English irregular past tense morphology by L1 Chinese learners | - |
dc.title.alternative | การรับหน่วยกาลอดีตรูปไม่ปกติในภาษาอังกฏษโดยผู้เรียนที่มีภาษาจีนเป็นภาษาที่ 1 | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | Master of Arts | - |
dc.degree.level | Master's Degree | - |
dc.degree.discipline | English as an International Language | - |
dc.degree.grantor | Chulalongkorn University | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6488047420.pdf | 2.54 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.