Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8697
Title: Treatment of dye containing in textile wastewater using TS-1, Ti-MCM-41 and Bismuth Titanate Catalysts : final report
Authors: Sujitra Wongkasemjit
Email: dsujitra@chula.ac.th
Other author: Chulalongkorn University. Petroleum and Petrochemical College
Subjects: Sewage -- Purification
Dyes and dyeing
Metallic oxides
Textile industry
Catalysis
Issue Date: 2007
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: This research was to study the photocatalytic activity of three different metal oxide catalysts, namely MCM-41, TS-1, and bismuth titanate (Bi[subscript 12]TiO[subscript 20]) in the reactive black 5 dye solution and the waste water obtained from a dye industry. These catalysts were synthesized using silatrane, titanium glycolate and bismuth nitrate precursors. The degradation process was first studied in the reactive black 5 dye model. The parameters in this study were pH, amounts of H[subscript 2]O[subscript 2] and Ti-loading in zeolite structure while fixing the organic dye at 40 ppm. At pH3, all three catalysts showed high photocatalytic activity. The higher amount of H[subscript 2]O[subscript 2] resulted in the higher photocalytic activity. The decoloration and the percent of mineralization increased with the higher Ti-content. The carbon reduction reached 79% using MCM-41 as catalyst, 65% for TS-1 and 35% for bismuth titanate, respectively. In the real wastewater obtained from Thanakul Dyeing And Printing Co., Ltd., it was found that all the three catalysts showed promising activity results. Moreover, in the case of using MCM-41 as catalyst, the carbon reduction reached 16% with respect to the initial carbon content. The results are very satisfying since the catalysts can oxidize non-pretreated-wastewater from industries under a mild condition.
Other Abstract: งานวิจัยนี้ ต้องการศึกษาความว่องไวในการเร่งปฏิกิริยาของโลหะออกไซด์ 3 ชนิด ได้แก่ MCM-41, TS-1 และ บิสมัทไททเนต (bismuth titanate) ในสารละลายที่มีสีย้อมผ้าชนิด รีแอกทีฟ แบลคไฟว์ (Reactive black 5: RB5) และในน้ำเสียที่ได้รับจากโรงงานย้อมผ้า ตัวเร่งปฏิกิริยาทั้งสามชนิดนั้น สังเคราะห์ได้จากสารตั้งต้น ไซลาเทรน ไททาเนียมไกลโคเลต และบิสมัทไนเตรต โดยในขั้นแรกนั้น ได้ทดลองศึกษากับสารละลายที่มีสีย้อม รีแอกทีฟ แบลคไฟว์ ปัจจัยที่ได้ทำการศึกษานั้นแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่ ผลของค่าความเป็นกรด-เบส ปริมาณของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ และ ปริมาณของไทเทเนียมในโครงสร้างของซีโอไลท์ ในขั้นตอนกระบวนการนั้น ทำการละลายให้ได้ความเข้มข้นของสีเท่ากับ 40 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่า ตัวเร่งปฏิกิริยาทั้งสามชนิด เร่งปฏิกิริยาการสลายตัวของสีได้ดีที่สภาวะเป็นกรด และดีที่สุดเมื่อ ค่าความเป็นกรดเท่ากับ 3 เมื่อปริมาณของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์เพิ่มมากขึ้น ปฏิกิริยาเกิดได้ดีขึ้น และเมื่อปริมาณของไทเทเนียมเพิ่มมากขึ้น อัตราการสลายโครงสร้างของสีทำได้ดีขึ้นตามลำดับ โมเลกุลของสีถูกสลายไปเป็นคาร์บอนไดออกไซด์ ได้มากถึง 79 เปอร์เซ็นต์ เมื่อใช้ MCM-41 เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา และ65 เปอร์เซ็นต์เมื่อใช้ TS-1 เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ขณะที่บิสมัตไททาเนตสามารถเร่งการสลายตัวของสารอินทรีย์ให้เป็นคาร์บอนไดออกไซด์ได้เพียง 35 เปอร์เซ็นต์น้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม Thanakul Dyeing And Printing Co., Ltd.ที่ยังไม่ได้ทำการบำบัด ได้ถูกนำมาศึกษาถึงความเป็นไปได้ในการประยุกต์ จากผลการทดลองพบว่า ตัวเร่งปฏิกิริยาทั้งสามให้ผลที่ดี นอกจากนี้ ในกรณีของตัวเร่งปฏิกิริยา Ti-MCM-41 สามารถลดปริมาณคาร์บอนในน้ำเสียได้มากถึง 16 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งจากผลการทดลองที่ได้นี้ นับว่าประสบความสำเร็จ เนื่องจากสามารถบำบัดน้ำเสียที่ยังไม่ได้ผ่านการบำบัดมาก่อน ภายใต้สภาวะที่ไม่รุนแรง
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8697
Type: Technical Report
Appears in Collections:Petro - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sujitra_tre.pdf3.18 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.