Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8744
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ณัฏฐภรณ์ หลาวทอง | - |
dc.contributor.author | สกล ซื่อธนาพรกุล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ | - |
dc.contributor.other | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.coverage.spatial | ไทย | - |
dc.date.accessioned | 2009-02-02T02:15:47Z | - |
dc.date.available | 2009-02-02T02:15:47Z | - |
dc.date.issued | 2551 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8744 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 2 ข้อ คือ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนิสิตหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ต่อการพัฒนาความรู้ตามมาตรฐานวิชาชีพครู 2) เพื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบความคิดเห็นของนิสิตต่อการพัฒนาความรู้ตามมาตรฐานวิชาชีพครู ของนิสิตที่ศึกษาในชั้นปี สาขาวิชา และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่แตกต่างกัน กลุ่มตัวอย่างคือนิสิตครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 660 คน ได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น เครื่องมือวิจัยเป็นแบบสอบถาม ความคิดเห็นของนิสิตต่อการพัฒนาความรู้ตามมาตรฐานวิชาชีพครู ซึ่งสร้างขึ้นตามกรอบมาตรฐานวิชาชีพครู ของสำนักเลขาธิการคุรุสภา (2548) มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .98วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย การวิเคราะห์ความแปรปรวน และการวิเคราะห์ความแปรปรวนพหุผลการวิจัยโดยสรุปพบว่า 1) นิสิตมีความเห็นว่าการจัดการเรียนการสอนในคณะครุศาสตร์ ช่วยพัฒนาความรู้ตามมาตรฐานวิชาชีพครู ในระดับมาก 8 มาตรฐาน คือ ด้านความเป็นครู รองลงมาคือ ด้านจิตวิทยาสำหรับครู ด้านการบริหารจัดการในห้องเรียน ด้านภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู ด้านการจัดการเรียนการสอน ด้านการวัดและประเมินผลการศึกษาด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา และ ด้านการวิจัยทางการศึกษา และระดับปานกลาง1 มาตรฐาน คือ ด้านการพัฒนาหลักสูตร 2) นิสิตที่มีชั้นปี สาขาวิชา และหลักสูตรที่ศึกษาแตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการพัฒนาความรู้ตามมาตรฐานวิชาชีพครูทั้ง 9 ด้านแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สำหรับนิสิตที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแตกต่างกัน เพียงด้านเดียวคือ ด้านภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นอกจากนี้ในการวิเคราะห์ความแปรปรวนพหุ พบปฏิสัมพันธ์ระหว่างชั้นปีและสาขาวิชาที่ศึกษาของมาตรฐานวิชาชีพครูด้านความรู้ 8 ด้าน ยกเว้นด้านการวัดและประเมินผลที่พบอิทธิพลหลักของชั้นปีและสาขาวิชาแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | en |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were 1) to study students’ opinions on enhancing knowledge domain of Teacher Professional Standards in Bachelor’s Degree Programs in Education, Chulalongkorn University; and 2) to compare the opinions on enhancing knowledge domain of students with different years of study, fields of study, and learning achievements. The sample of this study was 660 undergraduate students at the Faculty of Education, Chulalongkorn University. The sample was selected using Stratified Random Sampling technique. Based on Teacher Professional Standards (The Office of Secretariat of Teacher’s Council of Thailand, 2005), the questionnaires were developed to ask the sample group for his/her opinions on enhancing knowledge domain of Teacher Professional Standards. The reliability of the questionnaires was 0.98. The results obtained were analyzed using descriptive statistics, ANOVA, and MANOVA. The results of this study were as follows: 1) Of the nine factors of knowledge domain of Teacher Professional Standards, eight were reported to be highly supported by learning and teaching activities at the Faculty of Education, Chulalongkorn University. The eight factors were Teaching Profession, Psychology for Teacher, Classroom Management, Language and Technology for Teacher, Learning and Teaching Management, Educational Measurement and Evaluation, Educational Innovation and Information Technology (IT), and Educational Research. The another factor, Curriculum Development, was reported to be moderately supported. 2) Students’ opinions on nine factors of the knowledge domain of Teacher Professional Standards were significantly different (p<.05) among students with different years of study, and fields of study whereas students’ opinions on enhancing knowledge domain were not significantly different (p<.05) among students with different learning achievements on eight factors except Language and Technology for Teacher factor which was significantly different (p<.05). In addition, the MANOVA analysis revealed that the interaction between years and fields of study were statistically significant (p<.05) on eight factor except Educational Measurement and Evaluation factor which had main effects (years and fields of study) statistically significant (p<.05). | en |
dc.description.sponsorship | ทุนวิจัยคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ.2550 | en |
dc.format.extent | 4037664 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ -- หลักสูตร | - |
dc.subject | ครู -- อุปทานและอุปสงค์ -- ไทย | - |
dc.subject | ครู -- มาตรฐาน | - |
dc.title | ความคิดเห็นของนิสิตหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ต่อการพัฒนาความรู้ตามมาตรฐานวิชาชีพครู : รายงานการวิจัย | en |
dc.title.alternative | Opinions on enhancing knowledge domain of teacher professional standards of students in bachelor degree program in Education Chulalongkorn University | en |
dc.type | Technical Report | es |
dc.email.author | Lawthong_n@hotmail.com | - |
dc.email.author | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Edu - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Nattaporn.pdf | 3.6 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.