Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8909
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุรเดช โชติอุดมพันธ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2009-04-28T08:28:51Z-
dc.date.available2009-04-28T08:28:51Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.citationวารสารอักษรศาสตร์. 34,2(ก.ค.-ธ.ค. 2548),84-106en
dc.identifier.issn0125-4820-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8909-
dc.descriptionสัจนิยมมหัศจรรย์กับวาทกรรมความเป็นอื่น -- สัจนิยมมหัศจรรน์ในวรรณกรรมไทย -- จากกระแสวัฒนธรรมที่แตกต่างสู่มุมมองอันมหัศจรรย์en
dc.description.abstractในวงการวรรณกรรมไทยนั้น รูปแบบการประพันธ์แนวสัจนิยมมหัศจรรย์นับได้ว่าได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก นักเขียนในวงการไม่ว่าจะเป็นกนกพงศ์ สงสมพันธุ์ เรวัตร พันธุ์พิพัฒน์ ศิริวร แก้วกาญจน์ ประชาคม ลุนาชัย และอุเทน พรมแดง ต่างสร้างสรรค์งานเขียนที่มีกลิ่นอายของสัจนิยมมหัศจรรย์ ทำให้มีการกล่าวขวัญถึงวรรณกรรมแนวนี้อย่างต่อเนื่อง เป็นที่ทราบกันดีว่าสัจนิยมมหัศจรรย์เป็นรูปแบบการประพันธ์ที่มีต้นกำเนิดจากต่างประเทศและมีชุดแนวคิดและอุดมการณ์รองรับชัดเจน ในแง่หนึ่งอาจจะกล่าวได้ว่าสัจนิยมมหัศจรรย์เป็นวาทกรรมที่มีกรอบและขอบเขต มีพัฒนาการที่ตอบโต้กับวาทกรรมสัจนิยม บทความนี้จึ้งมุ่งเน้นศึกษาการนำรูปแบบการประพันธ์ดังกล่าวมาใช้ในบริบทวรรณกรรมไทย เพื่อวิเคราะห์ความเหมือนและความแตกต่างในเชิงวาทกรรมแห่งความเป็นอื่น โดยมุ่งศึกษาเปรียบเทียบวรรณกรรมไทย 3 เรื่อง คือ โลกที่กระจัดกระจาย ของศิริวร แก้วกาญจน์ “แม่มดแห่งหุบเขา” ของกนกพงศ์ สงสมพันธุ์ และหมานคร ของคอยนุชen
dc.format.extent1764844 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.ispartofseriesสนุกนึกพิลึกการละคร-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสัจนิยมมหัศจรรย์ ‪(วรรณกรรม)‬-
dc.subjectวรรณกรรมไทย-
dc.titleสัจนิยมมหัศจรรย์ในวรรณกรรมไทยกับวาทกรรมแห่งความเป็นอื่นen
dc.typeArticlees
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Arts - Journal Articles

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suradech.pdf1.72 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.