Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8918
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ประพิณ มโนมัยวิบูลย์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2009-05-01T08:24:14Z | - |
dc.date.available | 2009-05-01T08:24:14Z | - |
dc.date.issued | 2550 | - |
dc.identifier.citation | วารสารอักษรศาสตร์ 36,2(ก.ค.-ธ.ค. 2550),64-82 | en |
dc.identifier.issn | 0125-4820 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8918 | - |
dc.description | สองศตวรรษแรกแห่งการสอนภาษาจีนในประเทศไทย -- การสอนภาษาจีนในทศวรรษ 2530 และ 2540 -- ศักราชใหม่แห่งการสอนภาษาจีนในระดับอุดมศึกษา -- บทบาทของรัฐตั้งแต่ทศวรรษ 2520 -- สภาพปัจจุบันและปัญหาของการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย | en |
dc.description.abstract | การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศมีประวัติความเป็นมาตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ที่มีโรงเรียนจีนแห่งแรกในจังหวัดอยุธยา จนถึงช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ 25 ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่โรงเรียนจีนขยายตัวอย่างมาก หลังจากนั้นสถานการณ์ทางการเมืองทั้งในและนอกประเทศทำให้โรงเรียนจีนถูกควบคุมอย่างเข้มงวด เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง โรงเรียนจีนในประเทศไทยก็มีพัฒนาการทั้งในด้านขึ้นและลงตามปัจจัยทางการเมืองในแต่ละช่วงเวลา จน พ.ศ. 2535 เมื่อกระทรวงศึกษาธิการมีประกาศให้ภาษาจีนกลางมีสถานะเท่ากับภาษาอังกฤษ และภาษาต่างประเทศอื่นๆ ที่สอนอยู่ในโรงเรียนไทยทั่วไป ตั้งแต่นั้นการศึกษาภาษาจีนในประเทศไทยก็ได้รับความนิยมมากขึ้นรองจากภาษาอังกฤษ และมีการเรียนการสอนในทุกระดับตั้งแต่ระดับอนุบาลจนถึงระดับอุดมศึกษา การสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตไทย-จีนในปี พ.ศ. 2518 มีส่วนเสริมและสนับสนุนให้การศึกษาภาษาจีนในประเทศไทยในช่วงสามทศวรรษหลังนี้มีการพัฒนาและการขยายตัวอย่างมากปัจจุบันสังคมไทยมีความต้องการเรียนภาษาจีนเพิ่มขึ้น แต่สถานศึกษาไม่พร้อมและมีไม่เพียงพอ ขาดครูที่มีคุณภาพ ขาดหลักสูตรแกนกลางและสื่อการสอนที่ได้มาตรฐานและสอดคล้องกับบริบททางสังคมไทย ปัญหาดังกล่าวนี้ทำให้เกิดสภาพการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนที่ขาดความพร้อมและไม่มีประสิทธิภาพ การแก้ไขสภาพปัจจุบันและปัญหาการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทยต้องได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องมาร่วมกันแก้ไขในระยะยาว และรัฐต้องมีความจริงใจและดำเนินการแก้ไขอย่างต่อเนื่อง จึงจะสามารถแก้ไขปัญหาเหล่านี้ได้ | en |
dc.format.extent | 1497399 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.ispartofseries | ภาษาไทย-เทศ : การเรียนการสอน | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ภาษาจีน -- การเรียนการสอน | en |
dc.title | พัฒนาการของการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย | en |
dc.type | Article | es |
dc.email.author | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Arts - Journal Articles |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Prapin.pdf | 1.46 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.