Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8938
Title: พ่อค้ามุสลิมกับการค้าผ้าอินเดียในหน้าประวัติศาสตร์ไทย
Authors: ประภัสสร โพธิ์ศรีทอง
Email: ไม่มีข้อมูล
Other author: ไม่มีข้อมูล
Subjects: พ่อค้า -- มุสลิม
ผ้า -- อินเดีย
Issue Date: 2550
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Citation: วารสารอักษรศาสตร์. 36,1(ม.ค.-มิ.ย. 2550),173-188
Series/Report no.: แขกไทย - แขกเทศ ข้ามเขตความรู้
Abstract: พ่อค้ามุสลิมชาวอินเดียมีบทบาทต่อการค้าผ้าของไทยตั้งแต่สมัยอยุธยาเรื่อยมาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น พ่อค้าเหล่านี้เป็นผู้นำผ้าชนิดต่างๆ เข้ามาขายในสยาม ทั้งยังเป็นผู้กระจายสินผ้าอินเดียไปสู่ชาวสยามตั้งแต่ชนชั้นสูงถึงไพร่บ้านพลเมือง ผ้าที่นำเข้าจากอินเดียมีแหล่งผลิตใหญ่อยู่สองภูมิภาคคือจากแคว้นกุจราต (Gujarat) ทางตะวันตกของอินเดีย และชายฝั่งโคโรเมนเดล (Coromandel Coast) ทางฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของอินเดีย การค้าผ้าในสมัยอยุธยาส่วนใหญ่อยู่ในมือของพ่อค้าเปอร์เซียและพ่อค้าอินเดียซึ่งมีทั้งผ้าที่ผลิตตามแบบแขกและที่ออกแบบส่งลายไปให้ช่างอินเดียผลิตตามรสนิยมของชาวสยาม ต่อมาในสมัยต้นรัตนโกสินทร์พ่อค้าชาวอินเดียเป็นผู้มีบทบาทสำคัญต่อการค้าผ้า พวกเขาได้ตั้งห้างจำหน่ายสินค้ามีชื่อเสียง เช่น ห้างมัสกาตีของพ่อค้าอินเดียตระกูลมัสกาดี มุสลิมนิกายชีอะห์เชื้อสายอินเดียกลุ่มโบราห์จากเมืองสุรัตที่เดินทางเข้ามาทำการค้าและตั้งถิ่นฐานอยู่ในเขตธนบุรี การค้าผ้าของพ่อค้ามุสลิมเริ่มซบเซาลงเมื่อมีการตั้ง
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8938
ISSN: 0125-4820
Type: Article
Appears in Collections:Arts - Journal Articles

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Prapatson.pdf1.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.