Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8939
Title: | นวนิยายของนะญีบ มะห์ฟูซ : วิถีและอัตลักษณ์พื้นถิ่นในวรรณกรรมอาหรับสมัยใหม่ |
Authors: | นารีมา แสงวิมาน |
Email: | ไม่มีข้อมูล |
Other author: | มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ |
Subjects: | นวนิยาย วรรณกรรมอาหรับ |
Issue Date: | 2550 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Citation: | วารสารอักษรศาสตร์. 36,1(ม.ค.-มิ.ย. 2550),189-206 |
Series/Report no.: | แขกไทย - แขกเทศ ข้ามเขตความรู้ |
Abstract: | ในช่วงเวลาที่ประเทศอียิปต์เผชิญกับการตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษและการไหลบ่าเข้ามาของค่านิยมตะวันตกไปพร้อมๆ กัน สังคมอียิปต์ได้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว รูปแบบชีวิตของคนรุ่นเก่าและคนรุ่นใหม่มีความแตกต่างกันมาก นะญีบ มะห์ฟูซ นักประพันธ์ชาวอียิปต์แสดงให้เห็นว่ารูปแบบชีวิตของชนทั้งสองรุ่นนี้เป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้สังคมอียิปต์เปลี่ยนแปลงไปทั้งในด้านสภาพชุมชน วิถีชีวิตของประชาชน เช่น การยึดมั่นถือมั่นในวิถีดั้งเดิม การศึกษาและการประกอบอาชีพ ชีวิตสมรส และวิกฤตจริยธรรมซึ่งได้รับผลกระทบโดยตรงจากกระแสบริโภคนิยมส่วนหนึ่งและผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการกระทำของตนเองด้วย บทความฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์นวนิยายทั้ง 4 เรื่องของนะญีบ มะห์ฟูซ ชุด The Cairo Trilogy [Palace Walk (1994), Palace Desire (1994), Sugar Street (1997)] และนวนิยายเรื่อง The Day the Leader Was Killed (2000) ในด้านของผลกระทบของจักรวรรดินิยมที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และพบว่าผู้ประพันธ์สะท้อนให้เห็นถึงวิถีชีวิตของชาวอียิปต์ที่เผชิญกับการแทรกแซงของจักรวรรดินิยมในรูปแบบต่างๆ พร้อมกันกับการดำรงอยู่ของวิถีดั้งเดิมที่พยายามต่อสู้และยืนหยัดอยู่ในสังคมอียิปต์ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงและความเจริญของสังคมโลก |
Description: | นวนิยายนะญีบ มะห์ฟูซ -- วิถีและอัตลักษณ์พื้นถิ่นในวรรณกรรมอาหรับสมัยใหม่ -- ผลกระทบของจักวรรดินิยมที่มีต่อการเมืองและสังคมอียิปต์ |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8939 |
ISSN: | 0125-4820 |
Type: | Article |
Appears in Collections: | Arts - Journal Articles |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Nareema.pdf | 1.15 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.