Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9266
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | กาญจนา นาคสกุล | - |
dc.contributor.other | ราชบัณฑิตยสถาน. สำนักศิลปกรรม | - |
dc.date.accessioned | 2009-07-18T07:37:47Z | - |
dc.date.available | 2009-07-18T07:37:47Z | - |
dc.date.issued | 2548 | - |
dc.identifier.citation | วารสารภาษาและวรรณคดีไทย. 22(ธ.ค. 2548),1-15 | en |
dc.identifier.issn | 0857-037X | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9266 | - |
dc.description.abstract | ภาษาเด็กสองขวบเป็นบันทึกคำซึ่งเด็กไทยคนหนึ่งรู้จัก เข้าใจและใช้ได้เมื่อมีอายุครบ 2 ขวบ คำที่รวบรวมได้จัดแบ่งตามความหมายได้ 22 กลุ่ม เป็นคำนามเกี่ยวกับสิ่งต่างๆรอบตัว คำสรรพนาม คำบอกจำนวน คำกริยาที่เด็กใช้ คำถาม คำบุรพบท และคำเลียนเสียง รวมคำที่เด็กสองขวบรู้จัก 498 คำ โดยสามารถแยกคำหลักกับคำไวยากรณ์ได้ และใช้ได้ถูกต้อง การเรียนรู้ภาษาของคนเรานั้น นักภาษาศาสตร์บางคนกล่าวว่าเกิดจากการเลียนแบบ (บลูมฟิลด์ Bloomfield 1958: 30) เมื่อเด็กเริ่มหัดพูด ผู้ที่เลี้ยงเด็กจะพูดคำที่ต้องการให้เด็กพูด โดยพูดซ้ำๆกันจนเด็กเปล่งเสียงเลียนเสียงของผู้ใหญ่ได้ เช่น พูดคำว่าแม่ หม่ำ มา ป๊ะ ป๋า เด็กจะเปล่งเสียงตามเหมือนบ้าง ไม่เหมือนบ้าง การเลียนเสียงเพื่อเรียนรู้คำและความหมายนั้นเป็นวิธีการเรียนรู้ภาษาในขั้นต้น ต่อมาเมื่อพูดเป็นคำๆได้แล้ว เด็กจะพูดเป็นประโยค เช่น แม่มา เอามา หม่ำไหม และอื่นๆ การพูดเป็นประโยคนั้นต้องอาศัยความรู้ทางไวยากรณ์ด้วย สิ่งที่น่าสนใจก็คือ เด็กเรียนรู้ไวยากรณ์หรือหลักภาษาได้อย่างไร และสามารถที่จะเข้าใจภาษา เข้าใจโครงสร้างของภาษาได้โดยวิธีใด | en |
dc.format.extent | 1017895 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | เด็ก -- การพัฒนาการทางภาษา | en |
dc.title | ภาษาเด็กสองขวบ | en |
dc.type | Article | es |
dc.email.author | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Arts - Journal Articles |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Kanjana_Nak.pdf | 994.04 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.