Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9517
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวีรวัฒน์ อินทรพร-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่. คณะศิลปศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-08-03T09:03:31Z-
dc.date.available2009-08-03T09:03:31Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.citationวารสารภาษาและวรรณคดีไทย. 24(ธ.ค. 2550),343-370en
dc.identifier.issn0857-037x-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9517-
dc.description.abstractบทความนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะแสดงให้เห็นความงามของโคลงที่กวีสืบทอดและสร้างสรรค์ในวรรณคดีไทยนับตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน โดยมุ่งศึกษาการสืบทอดและการสร้างสรรค์สุนทรียภาพทางเสียง คำ และการใช้สำนวนโวหารในโคลง ผลการศึกษาพบว่า กวีในแต่ละสมัยได้สืบทอดและสร้างสรรค์สุนทรียภาพของการแต่งโคลง ดังนี้ ในระดับเสียงได้แก่ การเล่นเสียงวรรณยุกต์ท้ายบาท การเล่นเสียงวรรณยุกต์ต่างระดับ การเล่นเสียงสัมผัสพยัญชนะและเสียงสัมผัสสระ ในระดับคำ ได้แก่ การเล่นคำพ้องและการเล่นคำด้วยการซ้ำคำ ส่วนการใช้สำนวนโวหารเห็นได้อย่างชัดเจนว่า กวีได้สืบทอดขนบการใช้สำนวนโวหารในการรจนาโคลงจากกวีในสมัยก่อนหน้า แต่ทั้งนี้กวีก็มิได้มุ่งเลียนแบบเพียงอย่างเดียว แต่ยังได้พัฒนาสำนวนโวหารจากโคลงโบราณให้มีลักษณะเฉพาะของกวีแต่ละคนเพื่อให้โคลงมีรสแปลกใหม่ทั้งในด้านรสคำและรสความ กล่าวได้ว่าความไพเราะและความคมคายของโคลงที่สืบทอดและสร้างสรรค์นี้มีความสอดคล้องกับลักษณะธรรมชาติของภาษาไทยเป็นอย่างมาก เนื่องจากโคลงเป็นคำประพันธ์ที่เป็นของคนไทย ดังนั้น กวีจึงใช้ประโยชน์จากลักษณะเด่นของภาษาไทยในการสร้างสรรค์สุนทรียภาพนับตั้งแต่การแต่งโคลงในวรรณคดีโบราณเรื่อยมาจนถึงการแต่งโคลงในกวีนิพนธ์ไทยสมัยใหม่en
dc.format.extent3534146 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectโคลงen
dc.subjectวรรณกรรมไทย -- สุนทรียภาพen
dc.titleสุนทรียภาพของโคลงในวรรณคดีไทย : การสืบทอดและการสร้างสรรค์en
dc.typeArticlees
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Arts - Journal Articles

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
veerawat_in.pdf3.45 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.