Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9628
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วิฏราธร จิรประวัติ, ม.ล. | - |
dc.contributor.author | จันทร์เพ็ญ ปริญญาวิวัฒน์กุล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์ | - |
dc.coverage.spatial | ไทย | - |
dc.coverage.spatial | กรุงเทพฯ | - |
dc.date.accessioned | 2009-08-05T02:58:10Z | - |
dc.date.available | 2009-08-05T02:58:10Z | - |
dc.date.issued | 2542 | - |
dc.identifier.isbn | 9743339736 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9628 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 | en |
dc.description.abstract | ศึกษารูปแบบการโฆษณาสินค้าในกิจกรรมเกมทางรายการวิทยุ ความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับสารการโฆษณาสินค้า ในกิจกรรมเกมกับการจดจำเกี่ยวกับสินค้าที่โฆษณาในกิจกรรมเกม การเปิดรับสารการโฆษณาสินค้าในกิจกรรมเกมกับทัศนคติ ต่อสินค้าที่โฆษณาในกิจกรรมเกม การจดจำเกี่ยวกับสินค้ากับทัศนคติต่อสินค้าที่โฆษณาในกิจกรรมเกม และการเปิดรับสารการโฆษณาสินค้าในกิจกรรมเกม และการจดจำเกี่ยวกับสินค้ากับทัศนคติต่อสินค้าที่โฆษณาในกิจกรรมเกม โดยมีขอบเขตการวิจัยเฉพาะกลุ่มวัยรุ่นอายุ 12-25 ปี ที่อาศัยในกรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คน โดยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แนวคำถามการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกผู้ผลิตรายการเพลง และแบบสอบถาม ซึ่งวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย สำหรับสถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่า t-test และ One-way ANOVA ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบพหุ ซึ่งประมวลผลโดยโปรแกรม SPSS ผลการวิจัยจากการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกพบว่า การโฆษณาสินค้าในกิจกรรมเกมมีจุดประสงค์เพื่อขายสินค้า และสร้างความสนุกสนานแก่ทั้งผู้เล่น และผู้ฟังเป็นหลัก โดยผู้ผลิตรายการจะไม่พยายามยัดเยียดรายละเอียด หรือ การขายสินค้าที่มากเกินไปในกิจกรรมเกม เพื่อไม่ให้ผู้ฟังเกิดความเบื่อหน่าย ซึ่งผู้ผลิตรายการมีความคิดเห็นตรงกันว่า รูปแบบของกิจกรรมเกมต้องมีความสัมพันธ์กับ ภาพลักษณ์ของสินค้าและมีการลงโฆษณาอย่างต่อเนื่อง เพื่อประสิทธิผลในการจดจำแก่ผู้ฟังรายการวิทยุ ผลการวิจัยเชิงสำรวจจากแบบสอบถามพบว่า 1. กลุ่มวัยรุ่นที่มีเพศต่างกัน มีการเปิดรับสารจากสื่อวิทยุต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และกลุ่มวัยรุ่นที่มีอายุและการศึกษาต่างกัน มีการเปิดรับสารจากกิจกรรมเกมทางรายการวิทยุต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2. การเปิดรับสารจากสื่อวิทยุ และกิจกรรมเกม มีความสัมพันธ์ทางบวกกับการจดจำชื่อกิจกรรมเกม ชื่อสินค้าและสโลแกนของสินค้าที่โฆษณาในกิจกรรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 3. การเปิดรับสารจากสื่อวิทยุ ไม่มีความสัมพันธ์กับทัศนคติต่อสินค้าที่โฆษณาในกิจกรรมเกม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่การเปิดรับสารจากกิจกรรมเกมมีความสัมพันธ์ทางบวกกับ ทัศนคติต่อสินค้าที่โฆษณาในกิจกรรมเกม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 4. การจดจำชื่อกิจกรรม มีความสัมพันธ์ทางบวกกับทัศนคติ ต่อสินค้าที่โฆษณาในกิจกรรมเกมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 แต่การจดจำชื่อสินค้าและสโลแกนของสินค้า ไม่มีความสัมพันธ์กับทัศนคติต่อสินค้ที่โฆษณาในกิจกรรมเกมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 5. การเปิดรับสารจากสื่อวิทยุและการจดจำชื่อกิจกรรมเกม ชื่อสินค้า และ สโลแกนของสินค้า ไม่สามารถอธิบายทัศนคติต่อสินค้าที่โฆษณาในกิจกรรมเกมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่การเปิดรับสารจากกิจกรรมเกมสามารถอธิบายทัศนคติต่อสินค้าที่โฆษณาในกิจกรรมเกม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 | en |
dc.description.abstractalternative | To study formats of advertisements in radio game activities, to study relationships between media exposure of Bangkok teenagers towards advertisement in radio game activities and their product recall received from that advertisement, their media exposure of advertisement in radio game activities and their attitudes towards products advertised in radio game activities, product recall from advertisement in radio game activities and the attitudes towards products advertised in radio game activities, media exposure of advertisement in radio game activities, their product recall from advertisement and their attitudes towards products advertised in radio game activities. Sample group of the research is 400 Bangkok teenagers aged 12-25 years old. The research tools are in-depth interview of 5 selected radio producers and questionnaire for surveyed group. Data were analyzed to find basic statistics values, including percentage and mean scores, t-test, One-way ANOVA, Multiple Comparison, Peason Correlation Coefficient and Multiple Correlation Coefficient using SPSS for Windows. In-depth interviews with 5 radio producers, show that the objectives of advertisements in radio game activities are to sell products and to make both game players and radio audiences enjoy themselves. The producers will not do hard sell by adding too much product details in game activities because it may annoy the audiences. All producers have the same opinions that formats of game activities must relate or match product benefits and images. Moreover, long-term advertisements can effectively create product recall among the audiences. Results of survey research are as follows: 1. Both sexes show statistical difference in exposing to radio with 0.05 significant level. Difference in age and education show the statistical difference in exposing in exposing to advertisements in radio game activities with 0.05 significant level. 2. Exposure to radio and radio game activities are positively related to the game, product and slogan recall from the advertisements in radio game activities with 0.01 significant level to the attitudes. 3. Radio exposure is not related to the attitudes towards the product advertisements in radio game activities but exposure of radio activities is positively related with 0.01 significant level to the attitudes. 4. Game recall and the attitudes towards the products advertised in radio game activities are positively related with 0.05 significant level. For product and slongan recall, significant relationships were not found. 5. Radio exposure and game, product and slogan recall cannot explain the attitudes but exposure to radio game activities can explain the attitudes towards products advertised in game activities with 0.05 significant level. | en |
dc.format.extent | 1006026 bytes | - |
dc.format.extent | 1033344 bytes | - |
dc.format.extent | 2282651 bytes | - |
dc.format.extent | 1195622 bytes | - |
dc.format.extent | 2905000 bytes | - |
dc.format.extent | 1717093 bytes | - |
dc.format.extent | 1078165 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.1999.311 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | รายการวิทยุ | en |
dc.subject | วัยรุ่น | en |
dc.subject | การเปิดรับข่าวสาร | en |
dc.subject | การจำ (จิตวิทยา) | en |
dc.title | การเปิดรับสาร การจดจำ และทัศนคติเกี่ยวกับ การโฆษณาสินค้าในกิจกรรมเกม ทางรายการวิทยุของกลุ่มวัยรุ่นในกรุงเทพมหานคร | en |
dc.title.alternative | Media exposure, product recall and attitude towards advertisements in radio game activities amomg Bangkok teenagers | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | การโฆษณา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Vittratorn.C@chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.1999.311 | - |
Appears in Collections: | Comm - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Chanphen_Pa_front.pdf | 982.45 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Chanphen_Pa_ch1.pdf | 1.01 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Chanphen_Pa_ch2.pdf | 2.23 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Chanphen_Pa_ch3.pdf | 1.17 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Chanphen_Pa_ch4.pdf | 2.84 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Chanphen_Pa_ch5.pdf | 1.68 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Chanphen_Pa_back.pdf | 1.05 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.