Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10253
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมพงษ์ สุวรรณวลัยกร-
dc.contributor.advisorสมพล สงวนรังศิริกุล-
dc.contributor.authorนันทวัน โหละบุตร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-08-18T10:09:55Z-
dc.date.available2009-08-18T10:09:55Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741733054-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10253-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractเปรียบเทียบผลของการออกกำลังกาย ระดับความหนักปานกลางเป็นเวลาต่อเนื่องกันสองสัปดาห์ ระหว่างช่วงก่อนรับประทานอาหารเช้า กับการออกกำลังกายในช่วงบ่ายก่อนรับประทานอาหารเย็น ต่อการควบคุมระดับน้ำตาลในผู้ที่เป็นเบาหวานชนิดที่สอง อาสาสมัครเข้าร่วมในโครงการวิจัยจำนวน 18 คน (เพศชาย 10 คน เพศหญิง 8 คน) อายุระหว่าง 30-63 ปี มีการควบคุมเบาหวานอยู่ในระดับปานกลาง (HbA1c<8%) ได้รับการฝึกสอนให้ออกกำลังกายโดยการปั่นจักรยานทดสอบทุกวัน ด้วยความหนักระดับปานกลาง วันละครั้งเป็นเวลา 30 นาที โดยแบ่งเป็นสามคาบ คาบแรกอาสาสมัครจะออกกำลังกายเป็นระยะเวลาสองสัปดาห์ ในช่วงเช้าหรือบ่ายก่อน โดยวิธีการสุ่ม จากนั้นหยุดพักสองสัปดาห์ในคาบที่สอง คาบที่สามให้ออกกำลังกายในช่วงเช้าหรือบ่ายที่เหลือต่ออีกสองสัปดาห์ ภายหลังเสร็จสิ้นการออกกำลังกายในแต่ละคาบ ได้ตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือด ก่อนและหลังอาหารทุกมื้อและก่อนเข้านอน ภายหลังการออกกำลังกายครั้งสุดท้าย อย่างต่อเนื่องเป็นเวลา 24 ชั่วโมง ผลการศึกษาพบว่า ระดับฟรุคโตซามีนภายหลังออกกำลังกายก่อนอาหารเย็นสองสัปดาห์ ของผู้ที่เป็นเบาหวานมีค่าลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และพบว่าระดับน้ำตาลในเลือดขณะอดอาหาร ภายหลังออกกำลังกายก่อนอาหารเช้าสองสัปดาห์มีแนวโน้มลดลง และพบว่าระดับน้ำตาลในเลือดก่อนและหลังมื้ออาหารต่างๆ ภายหลังการออกกำลังกาย 24 ชั่วโมงในคาบที่ออกกำลังกายตอนบ่าย มีแนวโน้มลดลงมากกว่าคาบที่ออกกำลังกายก่อนเช้าen
dc.description.abstractalternativeTo compare the effects of short term moderate intensity aerobic exercise between morning (pre-breakfast) exercise session and afternoon (pre-dinner) exercise session in term of glycemic control. Eighteen type 2 diabetic volunteers (10 males, 8 females), 30-63 years old, with fair glycemic control (HbA1c<8%) were asked to perform moderate intensity, stationary bicycle exercise for 30 minutes per day. A randomized cross-over study were designed accordingly. At the first period; subjects were randomly assigned to perform exercise for 30 minutes in the morning or afternoon session for two weeks, followed by a two weeks wash-out period, then subjects performed exercise at the subsequence morning or afternoon session for another two weeks. A 7-points (before and after each meals and before bedtime) blood glucose profile was determined immediately after the last exercise session of each periods. The results showed that serum fructosamine levels significantly decreased in afternoon exercise session. On the contrary, the fasting plasma glucose levels has trend to decreased in the morning session, the 7-points blood glucose profile following the afternoon exercise session was less than the morning sessionen
dc.format.extent3657173 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเบาหวานen
dc.subjectน้ำตาลในเลือดen
dc.subjectการออกกำลังกายen
dc.titleผลของการออกกำลังกายระดับปานกลางก่อนอาหารเช้าและก่อนอาหารเย็น ต่อการควบคุมระดับน้ำตาลในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2en
dc.title.alternativeEffects of moderate exercise on pre-breakfast and pre-dinner to glucoregulation in type 2 diabetesen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเวชศาสตร์การกีฬาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSompongse.S@Chula.ac.th, suwansp@yahoo.com-
dc.email.advisorSompol.S@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nuntawan.pdf3.57 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.