Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11275
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศิริรัตน์ เร่งพิพัฒน์ | - |
dc.contributor.author | ปัญชลี ประคองศิลป์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2009-09-22T08:13:49Z | - |
dc.date.available | 2009-09-22T08:13:49Z | - |
dc.date.issued | 2541 | - |
dc.identifier.isbn | 9746397613 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11275 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541 | en |
dc.description.abstract | Lactobacillus spp. จำนวน 4 สายพันธุ์ ได้แก่ L. acidophilus TISTR 1338, L. bulgaricus TISTR 1339, L. casei subsp. tolerans TISTR 1341 และ L. jensenii TISTR 1342 เก็บในสภาพผงแห้งผ่านการทำแห้งแบบเยือกแข็งหลังเก็บไว้เป็นเวลา 12 เดือนที่ -20 ํซ พบว่าทุกสายพันธุ์มีการรอดชีวิตสูงกว่าร้อยละ 97 เมื่อนำทั้ง 4 สายพันธุ์ผสมในอัตราส่วนเท่ากัน คือ 1:1:1:1 ผสมในอาหารไก่และน้ำดื่มในอัตราส่วน 1:1000 (น้ำหนัก/น้ำหนัก และ น้ำหนัก/ปริมาตร) ด้วยความเข้มข้น 10 6 CFU/g และ CFU/ml พบว่าการรอดชีวิตของ Lactobacillus spp. ผงแห้งแบบผสมในน้ำดื่มมีค่าสูงกว่าในอาหารไก่ เมื่อนำมาผสมเพื่อเลี้ยงไก่กระทงเปรียบเทียบระหว่างการให้ในอาหารและในน้ำดื่มทุก 3 ซัน ขนาด 10 6 CFU/g และ CFU/ml ตามลำดับ พบว่า ไก่กลุ่มได้รับโพรไบโอติกในน้ำดื่มมีน้ำหนักเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือไก่กลุ่มได้รับสารปฏิชีวนะและเสริมโพรไบโอติกในอาหาร ทั้ง 2 กลุ่มมีน้ำหนักเฉลี่ยสูงกว่ากลุ่มควบคุมได้รับสารปฏิชีวนะในอาหาร ทดสอบผลต้านทานการติดเชื้อ S. Typhimurium ในไก่กระทง ไก่กลุ่มได้รับโพรไบโอติกเสริมในน้ำดื่มสามารถลดการติดเชื้อ S. Typhimurium ในลำไส้ได้ดีที่สุดและมีประสิทธิภาพในการลดการติดเชื้อ S. Typhimurium สูงกว่าไก่กลุ่มควบคุมได้รับสารปฏิชีวนะ ทำการทดสอบซ้ำในไก่พันธุ์พื้นบ้านไทย ให้ Lactobacillus spp. ผงแห้งแบบผสมในปริมาณและความเข้มข้นเท่าเดิม เมื่อไก่อายุ 10 วัน ให้ S. Typhimurium ขนาด 10 8 CFU/ml พบว่าไก่กลุ่มได้รับสารปฏิชีวนะและโพรไบโอติกเสริมในอาหารสามารถลดการติดเชื้อ S. Typhimurium ในลำไส้และลดปริมาณ S. Typhimurium ในมูลไก่ได้ดีที่สุด รองลงมาคือ กลุ่มได้รับอาหารผสมสารปฏิชีวนะและเสริมโพรไบโอติกในน้ำดื่ม ทั้ง 2 กลุ่มมีประสิทธิภาพในการลดการติดเชื้อ S. Typhimurium สูงกว่าไก่กลุ่มควบคุมได้รับสารปฏิชีวนะจากอาหารซึ่งสอดคล้องกับผลของน้ำหนักเฉลี่ย เมื่อครบการเลี้ยง 30 วันทั้ง 2 กลุ่มมีค่าสูงกว่ากลุ่มควบคุม | en |
dc.description.abstractalternative | Four strains of Lactobacillus spp. including L. acidophilus TISTR 1338, L. bugaricus TISTR 1339, L. casei subsp. tolerans TISTR 1341 and L. jensenii TISTR 1342 selected as probionts in this study were preserved by lyophilization. Their survival were more than 97% after storage for one year at -20 ํC. A 1:1:1:1 ratio of probiotics mixture was added to both chicken diet and drinking water at a concentration of 1 in 1000 (weight/weight and weight/volume) which gave about 10x10x10x10x10x10 CFU g -1 and 10x10x10x10x10x10 CFU ml -1 respectively. Survival of Lacobacillus spp. mixed in drinking water was higher than those in chicken diet. When feeding broilers with probionts in water and diet every three days, the average highest weight was observed from chicken fed with probiotic-water. After challenged by Salmonella Typhimurium the most efficient reduction of this infection in gut were detected in chickens fed with probiotic-water. The results were reproducible when the experiment was repeatedly conducted on Thai local chicken strain. Challenged by S. Typhimurium 10x10x10x10x10x10x10x10 CFU ml -1 after Thai local chicken strain fed with lyophilized-probionts for 10 days showed the most reduction fo S. Typhimurium in gut and feces in the group fed with probiotic-regular diet, later in the group with regular diet and probiotic-water. Also, their average weight after 30 days of growth in both treated groups were higher than those of control group with regular diet. | en |
dc.format.extent | 784062 bytes | - |
dc.format.extent | 718844 bytes | - |
dc.format.extent | 947670 bytes | - |
dc.format.extent | 821251 bytes | - |
dc.format.extent | 1479712 bytes | - |
dc.format.extent | 808877 bytes | - |
dc.format.extent | 708779 bytes | - |
dc.format.extent | 1354113 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ไก่ -- อาหาร | en |
dc.subject | ไก่ -- การเลี้ยง | en |
dc.subject | โพรไบโอติก | en |
dc.subject | แลคโตแบซิลลัส | en |
dc.subject | แบคทีเรียกรดแล็กติก | en |
dc.title | การเปรียบเทียบการให้โพรไบโอติกในการเลี้ยงไก่ | en |
dc.title.alternative | Comparison of probiotic feeding in chicken | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | จุลชีววิทยาทางอุตสาหกรรม | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | sirirat@sc.chula.ac.th, Sirirat.R@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Panchalee_Pr_front.pdf | 765.69 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Panchalee_Pr_ch1.pdf | 702 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Panchalee_Pr_ch2.pdf | 925.46 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Panchalee_Pr_ch3.pdf | 802 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Panchalee_Pr_ch4.pdf | 1.45 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Panchalee_Pr_ch5.pdf | 789.92 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Panchalee_Pr_ch6.pdf | 692.17 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Panchalee_Pr_back.pdf | 1.32 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.