Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11883
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกนกวรรณ แสงเกียรติยุทธ-
dc.contributor.authorปราณี รัตนวลีดิโรจน์-
dc.contributor.authorอดิศักดิ์ ถือพลอย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยโลหะและวัสดุ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยโลหะและวัสดุ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยโลหะและวัสดุ-
dc.date.accessioned2009-12-21T12:01:35Z-
dc.date.available2009-12-21T12:01:35Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11883-
dc.description.abstractศึกษาผลของการเตรียมผิวทางกลและทางเคมีต่อความต้านทานการกัดกร่อน ของเหล็กกล้าไร้สนิมออสเทนนิติกเกรด 304 และเฟอร์ริติกเกรด 430 ด้วยเทคนิคโพเทนซิโอไดนามิกในสารละลายโซเดียมคลอไรด์ 3.5 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก จากการศึกษาพบว่า ความเรียบผิวของชิ้นงานเหล็กกล้าไร้สนิมที่ผ่านการเตรียมผิวด้วยวิธีทางกล มีผลต่อความต้านทานการกัดกร่อน โดยชิ้นงานที่มีผิวเรียบมีเสถียรภาพของฟิล์มและความต้านทานการกัดกร่อนดีกว่า ชิ้นงานที่มีผิวหยาบ ทั้งนี้เหล็กกล้าไร้สนิมที่ผ่านการเตรียมผิวด้วยวิธีทางเคมีมีความต้านทานการกัดกร่อนมากกว่าวิธีการเตรียมผิวทางกล โดยการเพิ่มความเข้มข้นของกรดไนตริก อุณหภูมิและระยะเวลาในการตรียมผิวทางเคมีมีแนวโน้มทำให้เหล็กกล้าไร้สนิมเกรด 304 มีความต้านทานการกัดกร่อนแบบรูพรุนเพิ่มสูงขึ้น ส่วนในกรณีของเหล็กกล้าไร้สนิมเกรด 430 พบว่า การใช้กรดไนตริกที่ความเข้มข้น 35% อุณหภูมิ 50 ํC ระยะเวลา 30 นาทีในการเตรียมผิว เป็นสภาวะที่ทำให้ชินงานมีความต้านทานต่อการกัดกร่อนแบบรูพรุนสูงที่สุด ทั้งนี้ลักษณะพื้นผิวและรูพรุนที่เกิดขึ้นบนผิวชิ้นงานนั้นได้รับการตรวจสอบโดยอาศัยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนen
dc.description.abstractalternativeThe effects of mechanical polishing and chemical polishing on corrosion resistance of 304 austenitic and 430 ferritic stainless steel have studied. The corrosion resistance of stainless steels was analyzed by potentiodynamic technique in 3.5 wt.% NaCI solution. The results showed that polarization behavior of the mechanical polished specimen was dependent on its surface roughness. The smooth surface has more passive film stability than the rough surface. It was found that chemical polished specimen showed higher corrosion potential than that finished by mechanical method. For 304 stainless steel, the pitting potential tended to increase with increasing of nitric acid concentration, temperature and chemical treatment time. In case of 430 stainless steel, the highest pitting potential was found in the condition using 35% nitric acid at 50 ํC for 30 minutes. The surface and pits on the specimen were observed by scanning electron microscope.en
dc.description.sponsorshipทุนอุดหนุนการวิจัยจากเงินงบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2549en
dc.format.extent3115757 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherสถาบันวิจัยโลหะและวัสดุ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการกัดกร่อนและการป้องกันการกัดกร่อนen
dc.subjectเหล็กกล้าไร้สนิมen
dc.titleผลของการเตรียมผิวต่อความต้านทานการกัดกร่อนของเหล็กกล้าไร้สนิม : รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์en
dc.title.alternativeEffects of surface preparation on corrosion resistance of stainless steelen
dc.typeTechnical Reportes
dc.email.authorKanokwan.S@Chula.ac.th-
dc.email.authorPranee.R@Chula.ac.th-
dc.email.authortadisake@hotmail.com-
Appears in Collections:Metal - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
kanokwan_effect.pdf3.04 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.