Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12819
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุกรี รอดโพธิ์ทอง-
dc.contributor.authorบุญศิญา เรืองสมบูรณ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2010-06-11T03:08:27Z-
dc.date.available2010-06-11T03:08:27Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12819-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อผลของการนำเสนอภาพและข้อความช่วยจำโดยใช้คอมพิวเตอร์ที่มีต่อการระลึกความหมายและลักษณะตัวอักษรคันจิในภาษาญี่ปุ่นของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ตัวแปรที่ศึกษาคือ การนำเสนอภาพช่วยจำ และการนำเสนอข้อความช่วยจำ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนศรีอยุธยาในพระอุปถัมภ์ฯ โรงเรียนเทพลีลา และโรงเรียนสันติราษฎร์วิทยาลัย จำนวน 82 คน ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2549 และเลือกเรียนวิชาภาษาญี่ปุ่นเป็นวิชาบังคับเลือก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ สื่อคอมพิวเตอร์ แบบทดสอบก่อนเรียน และแบบทดสอบการระลึก ที่ได้จากการทดสอบหลังเรียนทันที สถิติที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ คือ การวิเคราะห์เปรียบเทียบ (t-test) ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนที่เรียนความหมายและลักษณะตัวอักษรคันจิในภาษาญี่ปุ่นโดยใช้คอมพิวเตอร์ที่ใช้การนำเสนอภาพเป็นวิธีการช่วยจำ และนักเรียนที่เรียนความหมายและลักษณะตัวอักษรคันจิในภาษาญี่ปุ่นโดยใช้คอมพิวเตอร์ที่ใช้การนำเสนอข้อความเป็นวิธีการช่วยจำ มีการระลึกความหมายและลักษณะของตัวอักษรคันจิในภาษาญี่ปุ่นไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the effects of the computer presentation of visual coding and verbal coding upon the recall of meaning and Kanji characters in Japanese language of tenth grade students. The studied variables were computer presentation of visual coding and verbal coding. Subjects in this research were 82 students in tenth grade of Sriayudhya school, Tapleela school and Santiratwithtayalai school during the first semester of the 2006 academic year, and chose to study the Japanese language. There were 3 research instruments which consisted of the computer presentation of visual coding and verbal coding; pretest, and recall test (suddenly test after studying). The t-test were used to analyze data at 0.05 level of significance. The research findings were no significant difference at 0.05 level on the recall in meaning and Kanji characters in Japanese language between students learning from computer presentation of visual coding and verbal coding.en
dc.format.extent3837844 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.707-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectภาษาญี่ปุ่น -- คอมพิวเตอร์ช่วยการสอนen
dc.titleผลของการนำเสนอภาพและข้อความช่วยจำโดยใช้คอมพิวเตอร์ที่มีต่อการระลึกความหมายและลักษณะตัวอักษรคันจิในภาษาญี่ปุ่นของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4en
dc.title.alternativeEffects of the computer presentation of visual coding and verbal coding upon the recall of meaning and Kanji characters in Japanese language of tenth grade studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSugree.R@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.707-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
boonsiya.pdf3.75 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.