Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13009
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | สุริชัย หวันแก้ว | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์ | - |
dc.coverage.spatial | ฉะเชิงเทรา | - |
dc.date.accessioned | 2010-07-06T01:22:19Z | - |
dc.date.available | 2010-07-06T01:22:19Z | - |
dc.date.issued | 2528 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13009 | - |
dc.description.abstract | ศึกษาผลกระทบจากนโยบายและมาตรการกำหนดราคาและรักษาระดับราคาข้าวของรัฐบาลในจังหวัดฉะเชิงเทราและรวบรวมแนวทางความพยายามแก้ปัญหาของเกษตรกรเอง ตลอดจนมุ่งเสนอแนะมาตรการแก้ไข เกี่ยวกับการดำเนินนโยบายและมาตรการกำหนดราคาข้าว และรักษาระดับราคาข้าวในจังหวัดฉะเชิงเทรานั้น พบว่ายังไม่ประสบผลสำเร็จ ทั้งนี้เนื่องมาจากสาเหตุหลายประการ คือ ประการแรก นโยบายและมาตรการมีความล่าช้ากว่าฤดูเก็บเกี่ยวทุกปีเว้นปี ประโยชน์ที่เกิดขึ้นบ้างจึงมักไปตกแก่โรงสีและมิได้ตกแก่เกษตรกรส่วนใหญ่ ประการที่สอง การดำเนินมาตรการด้านตลาดและด้านราคานี้มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบทุกปี แทนที่จะมีรูปแบบที่มุ่งแก้ปัญหาระยะยาว ประการที่สาม นโยบายและมาตรการไม่คล่องตัวให้สามารถปรับตัวกับสภาพที่แตกต่างกันของท้องที่ ประกอบกับมีขั้นตอนวิธีปฏิบัติที่ซับซ้อนยุ่งยากจนเกษตรกรเหนื่อยหน่าย สาเหตุต่างๆเหล่านี้จึงทำให้มาตรการต่างๆ ไม่มีผลต่อปัญหาราคาข้าวเปลือกตกต่ำและไม่มีผลต่อเกษตรกรเท่าไรนัก ข้อเสนอแนะที่สำคัญ ได้แก่ การส่งเสริมบทบาทและขีดความสามารถของบรรดาเกษตรกรซึ่งมีความพยายามรวมกลุ่มกันหาทางออกอยู่แล้ว อาทิเช่น การสร้างเครื่องอบความชื้นข้าวเปลือก ซึ่งได้รับการสนับสนุนในโครงการ กสช. และก็ได้รับรางวัลการประกวดจากกรมวิชาการเกษตร การจัดตั้งโครงการชาวนาขายข้าวสารเอง และจัดสร้างเครื่องสีข้าวขึ้นเอง ขณะที่มาตรการแทรกแซงราคาข้าวไม่ได้ผล เกษตรกรก็ได้ช่วยเหลือตนเองจนปรากฏเป็นผลงานที่น่าชื่นชม ดังนั้นขณะที่นโยบายข้าวในระดับชาติอันรวมถึงการยกเลิกค่าพรีเมียมทั้งยังไม่มีการปรับแก้หรือยกเลิกทางรัฐบาลและราชการจึงน่าจะส่งเสริมความพยายามของกลุ่มเกษตรกรเหล่านี้ให้มากขึ้น เพราะแนวทางนี้เองที่จะช่วยให้เกษตรกรสามารถพึ่งตนเองในระดับชุมชน ท่ามกลางภาวะราคาข้าวไม่แน่นอน การทำนาขาดทุนและหนี้สินเรื้อรังเช่นนี้ | en |
dc.description.abstractalternative | To study the impacts of the government’s rice price policy and measures on the communities of Chacherngsao Province, the farmers’ collective efforts to improve their own situations with some policy recommendations for future measures. The methodology employed are documentary, structured and unstructured interviews of all parties concerned with special focus on the farmers where participatory action research methods are also used. The findings shows that on the provincial level the rice price measures failed due to at least three reasons. Firstly, the measures and their implementation were usually too late to be intime for the harvesting season, and rice were usually transferred to middlemen or ricemills, thus they benefits the latter more. Secondly, the measures and mechanisms were not the same but changed every year, therefore needs new adapation on the part of the farmers every time. Thirdly, the measures were too standardized throughtout the country and open less to local provincial market and institutional realities thus create unnecessary and tiresome procedures for the farmers and even the officals involved. While the rice policy and measure were not successful, the farmers themselves initiated series of self-help efforts. They built their own designed rice dryers, own rice marketing channels, and own rice mills. The recommendation is, while national rice price policy and implementing mechanisms need serious changes with farmer-based reference, the collective self-help efforts of the farmer’s qroup and communities in struggling for more self-reliant development should be supported and promoted. | en |
dc.description.sponsorship | ทุนอุดหนุนเพื่อเพิ่มพูนและพัฒนาประสิทธิภาพทางวิชาการ | en |
dc.format.extent | 10329997 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | โครงการเผยแพร่ผลงานวิจัย ฝ่ายวิจัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.ispartofseries | งานวิจัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ; ลำดับที่ 10 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ข้าว -- ราคา | en |
dc.subject | ข้าว -- การตลาด | en |
dc.subject | ข้าว -- แง่เศรษฐกิจ | en |
dc.subject | ฉะเชิงเทรา -- ภาวะเศรษฐกิจ | en |
dc.title | ผลกระทบจากปัญหาตลาดข้าวต่อชุมชนในจังหวัดฉะเชิงเทราและแนวทางแก้ไข : รายงานผลการวิจัย | en |
dc.title.alternative | Impact of rice marketing problem on communities in Chacherngsao and ways to ameligalate the situation | en |
dc.type | Technical Report | es |
dc.email.author | Surichai.W@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Pol - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Surichai_Rice.pdf | 10.09 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.