Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13036
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ปรารมภ์ ซาลิมี | - |
dc.contributor.author | แมนสรวง อักษรนุกิจ | - |
dc.contributor.author | ปวริศา ธรรมวานิช | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2010-07-14T05:58:22Z | - |
dc.date.available | 2010-07-14T05:58:22Z | - |
dc.date.issued | 2548 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13036 | - |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์: เพื่อทดสอบความแข็งแรงดัดขวางสองแกนของวัสดุอินซีแรมและวัสดุไอพีเอสเอมเพรส 2 ที่มีอัตราส่วนความหนาของชั้นคอร์และวีเนียร์แตกต่างกัน วัสดุและวิธีการ: ทำการขึ้นรูปชิ้นทดสอบเซรามิกทั้งสองชนิด เป็นแผ่นกลมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 15 มม. หนา 1.2 มม. ตามคำแนะนำของบริษัทผู้ผลิตชนิดละ 50 ชิ้น แต่ละชนิดแบ่งออกเป็น 5 กลุ่มตามอัตราความหนาของส่วนคอร์ต่อวีเนียร์ กลุ่มละ 10 ชิ้น ดังนี้ กลุ่มที่ 1 = 1.2 : 0 กลุ่มที่ 2 = 0.8 : 0.4 กลุ่มที่ 3 = 0.6 : 0.6 กลุ่มที่ 4 = 0.4 : 0.8 กลุ่มที่ 5 = 0 : 1.2 นำชิ้นตัวอย่างทั้งหมดมาทดสอบหาความแข็งแรงดัดขวางสองแกนตามมาตรฐาน ISO 6872 ปี ค.ศ. 1995 โดยใช้เครื่องทดสอบสากลด้วยความเร็วหัวกด 1 มม./นาที ผลการศึกษา: ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของแต่ละกลุ่มมีดังนี้ กลุ่มที่ 1 = 433.06 +- 68.37 กลุ่มที่ 2 = 338.90 +- 22.56 กลุ่มที่ 3 = 294.43 +- 15.19 กลุ่มที่ 4 = 259.94 +- 14.53 กลุ่มที่ 5 = 56.59 +- 10.54 กลุ่มที่ 6 = 288.31 +- 44.64 กลุ่มที่ 7 = 246.34 +- 28.16 กลุ่มที่ 8 = 258.63 +- 27.87 กลุ่มที่ 9 = 226.59 +- 26.37 และ กลุ่มที่ 10 = 68.56 +- 5.52 MPa ตามลำดับ จากการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติโดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนและการทดสอบแบบแทมเฮน พบว่า อินซีแรมทั้งชิ้นมีค่าความแข็งแรงดัดขวางสองแกนสูงกว่าแบบที่เคลือบวีเนียร์ โดยเมื่อความหนาของชั้นคอร์ลดลงค่าความแข็งแรงดัดขวางสองแกนจะลดลงตามลำดับอย่างมีนัยสำคัญ (p<0.05) ส่วนไอพีเอสเอมเพรส 2 ทั้งชิ้นมีค่าความแข็งแรงดัดขวางสองแกนแตกต่างจากไอพีเอสเอมเพรส 2 แบบที่เคลือบวีเนียร์อย่างไม่มีนัยสำคัญ โดยแม้ว่าความหนาของชั้นคอร์ลดลงค่าความแข็งแรงดัดขวางสองแกนจะไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ (p<0.05) สรุป: อัตราส่วนคอร์และวีเนียร์มีผลต่อค่าความแข็งแรงดัดขวางสองแกนของอินซีแรม แต่ไม่มีผลต่อไอพีเอสเอมเพรส 2 | en |
dc.description.abstractalternative | Objective: To investigate the strength of two all ceramic systems; In-Ceram and IPS Empress 2 with different thicknesses of core and veneer ratio by means of biaxial flexural strength (BFS). Material and methods: Fifty disc samples of each all ceramic system, 15 mm. in diameter and 1.2 mm. in thickness, were fabricated following manufacturer’s recommendations. The samples were divided into five groups (n=10 each) depending on different core and veneer thickness ratio; group 1 in ratio 1.2 : 0, group 2 in ratio 0.8 : 0.4, group 3 in ratio 0.6 : 0.6, group 4 in ratio 0.4 : 0.8, group 5 in ratio 0 : 1.2. All samples were subjected to BFS testing following ISO 6872(1995) on the universal testing machine with crosshead speed of 1.0 mm/min. Results: The means +- SD of BFS of each groups were : group 1 = 433.06 +- 68.37 ; group 2 = 338.90 +- 22.56 ; group 3 = 294.43 +- 15.19 ; group 4 = 259.94 +- 14.53 ; group 5 = 56.59 +- 10.54 ; group 6 = 288.31 +- 44.64 ; group 7 = 246.34 +- 28.16 ; group 8 = 258.63 +- 27.87 ; group 9 = 226.59 +- 26.37 and group 10 = 68.56 +- 5.52 Mpa, respectively. ANOVA and Tamhane’s test revealed that the BFS of In-Ceram alone was significantly higher than In-Ceram combined with veneer porcelain as well as the decreasing of BFS when the thickness of core was decreased respectively (p<0.05). For IPS Empress 2 alone was not significantly different from IPS Empress 2 combined with veneer porcelain with any core : veneer ratio as well as the BFS among the group combined with veneer porcelain (p<0.05). Conclusion: The core and veneer thickness ratio affects the BFS of In-Ceram but not for that of IPS Empress 2. | en |
dc.description.sponsorship | ทุนงบประมาณแผ่นดินประจำปี 2548 | en |
dc.format.extent | 3660818 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | ภาควิชาทันตกรรมประดิษฐ์ คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | วัสดุเซรามิก | en |
dc.subject | ทันตวัสดุ | en |
dc.subject | กำลังวัสดุ | en |
dc.title | ความแข็งแรงดัดขวางสองแกนของวัสดุออลเซรามิกสองชนิดที่ภาวะความหนาของโครงสร้างชั้นต่างๆ | en |
dc.title.alternative | Biaxial flexural strength of all-ceramic materials with different layering thickness | en |
dc.type | Technical Report | es |
dc.email.author | Prarom.S@Chula.ac.th | - |
dc.email.author | Mansuang.A@Chula.ac.th | - |
dc.email.author | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Dent - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Prarom_Biaxial.pdf | 3.58 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.