Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13265
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวิมลวรรณ พิมพ์พันธุ์-
dc.contributor.authorรัฐชาติ มงคลนาวิน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2010-08-19T11:48:58Z-
dc.date.available2010-08-19T11:48:58Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13265-
dc.descriptionระยะเวลาของแผนงานวิจัยตั้งแต่ 2 มกราคม 2550 ถึง 31 ธันวาคม 2550en
dc.description.abstractแผนงานวิจัยนี้เป็นการนำพลาสมาที่กำเนิดจากเครื่องกำเนิดพลาสมาแบบอุณหภูมิสูงมาดัดแปรผิวผ้าพอลิเอสเทอร์ ฝ้าย พอลิเอสเทอร์ผสมฝ้าย และพอลิโพรพิลีน โดยแก๊สที่เลือกใช้ได้แก่ ออกซิเจน ไนโตรเจน อากาศ และอาร์กอน โดยใช้จำนวนครั้งของการยิงพลาสมาเท่ากับ 10 20 30 และ 40 ครั้ง ภาพถ่ายจากกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราดแสดงให้เห็นถึงความขรุขระของผิวผ้า ซึ่งเป็นผลจากการเฉือนของพลาสมา ผลจากการวัดเวลาที่ทำให้เปียกบ่งชี้ถึงสมบัติความชอบน้ำที่เพิ่มขึ้นของผิวผ้า เมื่อจำนวนครั้งของการยิงพลาสมาเพิ่มขึ้น อันเนื่องมาจากการเกิดหมู่ฟังก์ชันที่ชอบน้ำบริเวณผิวผ้า ซึ่งมาสามารถยืนยันได้จาก เอทีอาร์ฟูเรียร์ทรานสฟอร์มอินฟราเรดสเปกโทรสโกปี เมื่อนำผ้าไปย้อมสีด้วยสีย้อมที่เลือกใช้พบว่า การดัดแปรผิวผ้าฝ้ายซึ่งเป็นผ้าที่มีความชอบน้ำสูงอยู่แล้วด้วยพลาสมาออกซิเจนและไนโตรเจน ไม่ส่งผลต่อสมบัติการย้อมสีและความคงทนของสีต่อการซักของผ้าดังกล่าว อย่างไรก็ตาม ชนิดแก๊สและจำนวนครั้งของการยิงพลาสมาส่งผลอย่างมากต่อสมบัติทั้งสองนี้ของผ้าพอลิเอสเทอร์และพอลิเอสเทอร์ผสมฝ้าย ในกรณีที่นำพอลิโพรพิลีนที่ผ่านการดัดแปรผิวไปเตรียมวัสดุเชิงประกอบร่วมผ้าพอลิเอสเทอ์ผสมฝ้าย พบว่า ความทนแรงกระแทกของวัสดุเชิงประกอบที่ผ่านการดัดแปรผิวทั้งหมดมีค่าเพิ่มขึ้นอย่างมาก เมื่อเปรียบเทียบกับของวัสดุเชิงประกอบที่ไม่ผ่านการดัดแปรและพลาสติกพอลิโพรพิลีน ในขณะที่สมบัติด้านแรงดึงและด้านแรงดัดโค้งมีค่าใกล้เคียงกัน นอกจากนี้ ยังพบว่า ชนิดของแก๊สและตำแหน่งการดัดแปรนอนวูฟเวนพอลิโพรพิลีนในแชมเบอร์มีผลต่อสมบัติเชิงกลของวัสดุเชิงประกอบที่ได้ โดยผลการทดลองทั้งหมดบ่งชี้ว่า วัสดุเชิงประกอบที่เตรียมจากนอนวูฟเวนพอลิโพรพิลีนซึ่งดัดแปรผิวด้วยพลาสมาออกซิเจนมีสมบัติเชิงกลดีที่สุด เมื่อวางนอนวูฟเวนพอลิโพรพิลีน ณ ตำแหน่งด้านบนให้ตรงกับตำแหน่งของการโฟกัสen
dc.description.sponsorshipทุนอุดหนุนการวิจัยจากเงินงบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2550en
dc.format.extent10035380 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectโพลิเมอร์en
dc.subjectโพลิเมอไรเซชันen
dc.subjectพลาสมา (แก๊สไอออน)|xการใช้ในอุตสาหกรรมen
dc.subjectอุตสาหกรรมพลาสติกen
dc.subjectอุตสาหกรรมสิ่งทอen
dc.titleแผนงานวิจัยการประยุกต์พลาสมาแบบห้วงในการดัดแปรพอลิเมอร์ สำหรับอุตสาหกรรมพลาสติกและสิ่งทอ : โครงการวิจัย : รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์en
dc.title.alternativeการประยุกต์พลาสมาแบบห้วงในการดัดแปรพอลิเมอร์ สำหรับอุตสาหกรรมพลาสติกและสิ่งทอen
dc.title.alternativePulsed-plasma applications in polymer modification for plastic and textile industriesen
dc.typeTechnical Reportes
dc.email.authorVimolvan.P@Chula.ac.th-
dc.email.authorRattachat.M@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Vimolvan_pulsed.pdf9.8 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.