Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14472
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธราพงษ์ วิทิตศานต์-
dc.contributor.authorวสันต์ รัตนประสาท-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2011-01-17T06:49:02Z-
dc.date.available2011-01-17T06:49:02Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.isbn9741425953-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14472-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการทดลองสกัดสีย้อมจากไม้ขนุนด้วยตัวทำละลาย แนะนำสารสกัดมาทำเป็นผลิตภัณฑ์ผงแห้ง ด้วยเครืองอบแห้งแบบพ่นฝอย งานวิจัยนี้ได้แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ ส่วนแรกศึกษาหาภาวะที่เหมาะสมในการสกัดในแบบแบตช์ระดับปฏิบัติการ ส่วนที่ 2 ศึกษาหาภาวะที่เหมาะสมในการสกัดในเครื่องสกัดไหลเวียนกลับ โดยใช้ภาวะในการสกัดจากที่ศึกษาแล้วในเครื่องสกัดแบบแบตช์ระดับปฏิบัติการ ส่วนที่ 3 เป็นการศึกษาการทำแห้งสารสกัดด้วยเครื่องอบแห้งพ่นฝอย พบว่าภาวะที่เหมาะสมในการสกัดในแบบแบตช์ระดับปฏิบัติการ คือ ใช้อุณหภูมิในการสกัดที่ 80 องศาเซลเซียส เวลาในการสกัด 45 นามี อัตราส่วนน้ำหนักไม้ขนุนต่อปริมาณเอทานนอลที่ความเข้มข้นร้อยละ 50 โดยปริมาตรที่ 1:40 กรัม:มิลลิลิตร และตัวแปรที่มีผลต่อปริมาณสารมอรินที่สกัดได้ คือ อุณหภูมิในการสกัดมีผลมากที่สุดถึง 58.18% รองลงมา คือ เวลาในการสกัดมีผล 35.76% และ อัตราส่วนของน้ำหนักไม้ขนุนต่อปริมาตรทำละลายมีผลเพียง 2.95% ภาวะที่เหมาะในการสกัดในเครื่องสกัดไหลเวียนกลับ คือ ใช้สัดส่วนของอัตราการไหลของตัวทำละลายในเครื่องสกัดต่อปริมาตรตัวทำละลายเป็น 1:2 ลิตรต่อนาที:ลิตร โดยมีประสิทธิภาพในการสกัดผงสี และสารมอรนประมาณร้อยละ 95 ที่เวลาในการสกัด 150 นาที การทำแห้งด้วยเครื่องอบแห้งแบบพ่นฝอย ใช้ปริมาณเด็กซ์ทรินที่ร้อยละ 10 ต่อน้ำหนักของแข็งเริ่มต้น ได้ผลิตภัณฑ์ผงสีที่มีลักษณะคุณภาพ คือ มีค่าแอกติวิตีน้ำ (a ) เท่ากับ 0.278 ปริมาณความชื้น 2.50% ความเป็นกรด-เบส (pH) 7.07 ความหนาแน่นของผงสี 0.519 (กรัมต่อมิลลิลิตร) การดูดความชื้น 0.325 (กรัมต่อผงสี 10 กรัม) การละลาย 0.269 (กรัมต่อน้ำ 10 มิลลิลิตร ที่อุณหภูมิห้อง) ค่าความสว่าง (L*) เท่ากับ 53.7 ค่าความเป็นสีแดงหรือเขียว (a*) เท่ากับ 16.73 และค่าความเป็นสีเหลืองหรือน้ำเงิน (b*) เท่ากับ 38.75 และปริมาณมอรินที่ร้อยละ 9.87en
dc.description.abstractalternativeThis research studied the extraction of wood with solvent and sprays dry the outcome extract. The experiment consist of 3 parts which are: 1) study of extraction condition in laboratory scale, 2) study of extraction condition in recycle extractor by using optimum condition in laboratory scale, and 3) study of drying in spray dryer. The experimental result were found that: 1) 50% ethanol by volume is the suitable solvent for extraction and optimum extracted condition in laboratory are at 80 degree Celsius for 45 minutes with ratio of wood to solvent gram:milliliter of 1:40. The major parameter to the morin extraction was temperature the, 58.18% following by time, 35.76% and ratio of wood to solvent, 2.95%, respectively. 2) The optimum condition of extraction in recycle extractor, the ratio of recirculation volume per minute to volume of liquid in reactor was 1:2 lit/min:lit and 150 minutes of extraction in recycle extractor give dye and morin product around 95% of the existed in wood, and 3) drying the extract in spray dryer along with antiadherent dextrin which amount 10% of outcome’s weight gives the last product as yellow powder. Physical property of this product is water acivity (a ) o.278, moisture content 2.50%, pH 7.07, bulk density 0.519 (gram/milliter), hygroscopicity 0.325 (gram /10 gram of powder), solubility 0.269 (gram /water 10 milliter at room temperature), Lightness (L*) 53.7, Red-Green (a*) 16.73, Yellow-Blue (b*) 38.79, and morin content 9.87%.en
dc.format.extent1939671 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1300-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสีย้อมจากพืชen
dc.subjectขนุนen
dc.titleการสกัดสีย้อมจากต้นขนุน Artocarpus heterophyllus Lamk. ด้วยเครื่องสกัดไหลเวียนกลับen
dc.title.alternativeDye extraction from jackfruit Artocarpus heterophyllus Lamk. stems using recycle extractoren
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเคมีเทคนิคes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisortharapong.v@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.1300-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
wasan.pdf1.89 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.