Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1481
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมบูรณ์ แสงวงค์วาณิชย์-
dc.contributor.authorอนุชา หริรักษ์, 2519--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-08-05T04:59:11Z-
dc.date.available2006-08-05T04:59:11Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9741761988-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1481-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractในปัจจุบันวงจรกรองแอกทีฟที่นิยมใช้มีอยู่ 2 แบบ คือแบบตรวจจับกระแสฮาร์มอนิกทางด้านโหลด และแบบตรวจจับกระแสฮาร์มอนิกทางด้านแหล่งจ่าย วงจรกรองทั้งสองแบบเมื่อพิจารณาโดยผิวเผินจะดูแตกต่างกัน ทำให้การวิจัยและพัฒนาแยกออกเป็น 2 แนวทางและได้ข้อสรุปของคุณสมบัติแตกต่างกัน วิทยานิพนธ์ฉบับนี้จึงนำเสนอมุมมองใหม่ในการพิจารณาวงจรกรองแอกทีฟแบบตรวจจับกระแสฮาร์มอนิกทางด้านโหลดร่วมกับตัวควบคุมกระแสในวงจร โดยแสดงให้เห็นว่าวงจรกรองดังกล่าวสามารถเขียนอยู่ในรูปของวงจรกรองที่ตรวจจับกระแสฮาร์มอนิกทางด้านแหล่งจ่ายได้ ซึ่งแสดงถึงความสมมูลกันทางทฤษฎีของวงจรกรองทั้งสองแบบ และวงจรกรองในวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ใช้วิธีตรวจจับและป้อนกลับกระแสฮาร์มอนิกด้านแหล่งจ่ายที่มีข้อได้เปรียบกว่าการตรวจจับกระแสด้านโหลดในกรณีของความไม่เป็นเชิงเส้นของอุปกรณ์ตรวจจับกระแส วงจรที่นำเสนอนี้มีโครงสร้างที่ง่ายต่อการนำไปใช้จริงโดยการเลือกใช้ตัวตรวจจับกระแสฮาร์มอนิกแบบรีเคอซีฟดีเอฟทีและตัวควบคุมกระแสแบบวิธีทำซ้ำที่ได้เป็นฟังก์ชันโอนย้ายที่ง่ายในการคำนวณ และยังได้วิเคราะห์และออกแบบส่วนควบคุมในวงจรกรอง ทำให้วงจรกรองโดยรวมมีเสถียรภาพ วงจรกรองที่นำเสนอได้ถูกนำไปสร้างจริง ซึ่งผลการทดลองยืนยันถึงสมรรถนะการกำจัดฮาร์มอนิกที่ดีของวงจรen
dc.description.abstractalternativeAt present, power active filters are usually classified into two types: the first one is based on the load-current harmonic detection and the second one is based on the source-current harmonic detection. This viewpoint leads to separate research results and the corresponding active filter characteristics are accepted to be different. This thesis proposes a new viewpoint to consider the load-current detection active filter together with its current controller, and points out its equivalence with the source-current detection structure. As the source-current detection active filter has several advantages over the load-current detection type, especially when the current sensor characteristic is non-linear, the active filter based on source-current harmonic detection and feedback is adopted in this thesis. The control structure of the active filter is further made simple by using the recursive discrete fourier transform in the harmonic detection and the repetitive control algorithm in the current control. Teh resultant active filter is then analyzed and designed to obtain a stable harmonic cancellation. Finally, the proposed active filter is implemented, and the test results indicate satisfactory harmonic cancellation characteristics.en
dc.format.extent1217912 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectวงจรกรองกำลังแอกทีฟen
dc.subjectฮาร์มอนิก (คลื่นไฟฟ้า)en
dc.titleการควบคุมวิธีใหม่สำหรับวงจรกรองแอกทีฟแบบขนานที่ใช้การตรวจจับกระแสด้านแหล่งจ่ายen
dc.title.alternativeNovel control method of shunt active filter with source current detectionen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้าen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorsomboona@chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Anucha.pdf1.39 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.