Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16084
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาวิกา ศรีรัตนบัลล์-
dc.contributor.authorสุวิมล คำน้อย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์-
dc.date.accessioned2011-10-05T11:38:26Z-
dc.date.available2011-10-05T11:38:26Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16084-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (สค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractศึกษาถึงผลของการอาสาสมัครที่มีต่อพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วย ศึกษากรณีกลุ่มอาสาสมัครแบบผู้ป่วยช่วยผู้ป่วยในโรงพยาบาลแห่งหนึ่ง ทั้งนี้โดยมีเป้าหมายของการศึกษา 3 ประการ กล่าวคือ 1) เพื่อศึกษาบริบทของโรงพยาบาลที่ทำให้เกิดกลุ่มอาสาสมัครแบบผู้ป่วยช่วยผู้ป่วยในโรงพยาบาล 2) เพื่อศึกษาบทบาท หน้าที่ของกลุ่มอาสาสมัครแบบ ผู้ป่วยช่วยผู้ป่วยในโรงพยาบาลที่มีผลต่อพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วย 3) เพื่อศึกษาบทบาทหน้าที่ของกลุ่มอาสาสมัครแบบผู้ป่วยช่วยผู้ป่วยในโรงพยาบาล ที่มีผลต่อองค์กร ผู้วิจัยได้ใช้รูปแบบเทคนิคการวิจัยแบบวิธีสัมภาษณ์แบบเจาะลึก ในกลุ่มอาสาสมัครแบบผู้ป่วยช่วยผู้ป่วยในโรงพยาบาลแห่งหนึ่ง ผู้ป่วยที่ได้รับการอาสาสมัครและบุคลากรทางการแพทย์ที่เกี่ยวข้อง และนอกจากนี้ยังใช้วิธีการวิจัยแบบสังเกตแบบมีส่วนร่วม ในการศึกษาการทำงานของอาสาสมัครต่อผู้ป่วยและต่อองค์กร ในการรวบรวมข้อมูลภาคสนามจากผู้ให้ข้อมูลที่เป็นอาสาสมัครแบบผู้ป่วยช่วยผู้ป่วยจำนวน 10 กรณีศึกษา กลุ่มผู้ป่วยที่มีประสบการณ์ตรงต่อการอาสาสมัครจำนวน 10 กรณีศึกษา และกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์จำนวน 8 กรณีศึกษา เพื่อนำมาสู่การวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้ดังกล่าวตามกรอบแนวคิดที่ตั้งไว้ ผลจากการศึกษาพบว่า การอาสาสมัครมีส่วนทำให้ผู้ป่วยที่ได้รับการอาสาสมัครมีการรับรู้ในเรื่องของความเสี่ยงต่อการเกิดโรค ภาวะความรุนแรงของโรค และการรับรู้อื่นๆที่เกี่ยวกับโรคเบาหวาน ทำให้เกิดการเรียนรู้ ปรับทัศนคติ จนนำไปสู่การปรับพฤติกรรมสุขภาพ ซึ่งอาจมีปัจจัยอื่นเข้ามาเป็นปัจจัยเสริมที่ทำให้เกิดการปรับพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วย นอกจากนี้การอาสาสมัครยังมีบทบาทต่อองค์กร ในการเข้าไปมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย และช่วยเหลืองานขององค์กรในการทำให้องค์กรเป็นองค์กรที่มีชีวิตen
dc.description.abstractalternativeTo find out the effects of volunteerism on patient’s health behaviour focusing on patients self-help group in a hospital. Its objectives are 1) to study the context that help form patients self-help group 2) to study the effects of patients self-help group on patient’s health behaviour 3) to study the effects of patients self-help group on the hospital. The research was conducted by using 2 qualitative techniques, in-depth interview and participant observation with 3 group of key informants. Ten volunteers of the Diabetes self-help group, ten diabetes patients and eight non-medical staff were interviewed and occasionally observed. The findings reveal that volunteers help patients learn about risk factors, virulence, and diabetes, resulting in their changing attitudes and health behaviour. However, volunteerism is not only one factor in the changing behaviour of patients. Moreover, volunteerism also contributes to the changing environment of hospital and may transform the organization to the living one.en
dc.format.extent1459912 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1081-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectอาสาสมัครen
dc.subjectการสื่อสารในองค์การen
dc.subjectการดูแลสุขภาพด้วยตนเองen
dc.subjectพฤติกรรมสุขภาพen
dc.subjectกลุ่มช่วยเหลือตนเองen
dc.subjectเบาหวานen
dc.titleผลของการอาสาสมัครที่มีต่อพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วย : ศึกษากรณีกลุ่มอาสาสมัครแบบผู้ป่วยช่วยผู้ป่วยในโรงพยาบาลen
dc.title.alternativeEffects of volunteerism on patient's health behaviour : a case study of patients self-help group in a hospitalen
dc.typeThesises
dc.degree.nameสังคมวิทยามหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineสังคมวิทยาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPavika.P@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.1081-
Appears in Collections:Pol - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suvimon_Kh.pdf1.43 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.