Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16151
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวิณี วิวัฒน์วานิช-
dc.contributor.authorจินตนา นาคพิน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย (ภาคใต้)-
dc.date.accessioned2011-10-22T12:55:09Z-
dc.date.available2011-10-22T12:55:09Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16151-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ และเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ ตามปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่โรงพยาบาลที่ปฏิบัติงาน อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ศาสนา สถานที่ตั้งของภูมิลำเนาเดิมและสถานที่ทำงานในปัจจุบัน และจังหวัดที่ปฏิบัติงาน กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 335 คนได้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือแบบสอบถามคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้นจากการบูรณาการแนวคิดคุณภาพชีวิตการทำงานของ Walton (1974 ) ประกอบด้วยองค์ประกอบ 8 ด้าน คือ 1)สภาพการทำงานที่ปลอดภัยและส่งเสริมสุขภาพ 2) ค่าตอบแทนที่เพียงพอและยุติธรรม 3) โอกาสในการพัฒนาความสามารถของบุคคล 4)โอกาสในความก้าวหน้าและความมั่นคงในงาน 5) การ บูรณาการทางสังคม 6) สิทธิส่วนบุคคล 7) งานกับช่วงเวลาของชีวิตโดยรวม 8) ความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสังคม ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 ท่านได้ค่าความตรงเท่ากับ .93 และทดสอบความเที่ยงโดยการหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาค ได้ค่าความเที่ยง เท่ากับ .92 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบที (t-test) และวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One way ANOVA) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยรวมอยู่ในระดับดี ( =3.55, SD =.28)โดยมีคุณภาพชีวิตการทำงานด้านความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสังคมคะแนนเฉลี่ยสูงสุด ( =4.17, SD =.30) และด้านค่าตอบแทนที่เพียงพอและยุติธรรมคะแนนเฉลี่ยต่ำสุด ( = 2.93, SD =.59) สำหรับข้อที่พยาบาลวิชาชีพมีการรับรู้สูงสุดคือการที่พยาบาลมีความรู้สึกภูมิใจในอาชีพพยาบาลว่าสามารถช่วยเหลือประชาชนและทำประโยชน์แก่ประเทศชาติ ( = 4.59,SD =.53) และข้อที่มีการรับรู้ต่ำสุด คือพยาบาลรับรู้ว่าเงินพื้นที่พิเศษเสี่ยงภัย (สปพ.) ที่ได้รับเหมาะสมและยุติธรรมเมื่อเปรียบเทียบกับสายงานอื่นที่มีลักษณะงานคล้ายคลึงกัน ( =1.93, SD =.96) 2. พยาบาลวิชาชีพที่มีปัจจัยส่วนบุคคลต่างกันมีการรับรู้คุณภาพชีวิตการทำงานไม่แตกต่างกันen
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were 1) to investigate the levels of quality of working life of professional nurses in hospitals of three southern border provinces 2) to compare the quality of working-life professional nurse by hospital size, age, gender, education, work experienced, salary, religion, location of hometown and present working place, and province of working place .The samples were 335 professional nurses in the hospital of three southern border provinces Thailand. Research instruments was questionnaire with quality of working of professional nurses which consist of 8 elements:1) safety workplace and promoting health 2) adequate and fair compensation 3) Opportunity to develop human capacitity.4) future integration in the work organization 5) social integration 6) constitutionalism in the work organization 7) Work and Total life space 8) The social relevance of work life .The questionnaires which were tested for content validity .93 and reliability.92.Statistical methods used to analyze the data included percentage, mean, standard deviation , t-test and one-way ANOVA The study showed: 1.The professional nurses’ quality of working-life level was in the good level ( =3.55, SD =.28), the working life that relevance to social was at the highest level ( = 4.17,SD =.30), the fair salary and sufficient was at the lowest level ( = 2.93, SD =.59). For highest awareness was the proud of helping people which this was useful up to the country ( = 4.59, SD =.53), the lowest awareness was the special money that gave to people who work in high risk of dangerous area, the money was appropriated and fair if compared to other similarly professional ( = 1.93, SD =. 95). 2. The perception of quality of working life was not different between professional nurse who has different in personal factors and who has not different in personal factors.en
dc.format.extent1753911 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1228-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectคุณภาพชีวิตen
dc.subjectคุณภาพชีวิตการทำงานen
dc.subjectพยาบาลen
dc.subjectโรงพยาบาล -- ไทย (ภาคใต้)en
dc.titleคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลสามจังหวัดชายแดนภาคใต้en
dc.title.alternativeQuality of working life of professional nurses in hospitals of three Southern border provinces, Thailanden
dc.typeThesises
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการบริหารการพยาบาลes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorsuvinee@hotmail.com-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.1228-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
jintana_na.pdf1.71 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.