Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17032
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อวย เกตุสิงห์ | - |
dc.contributor.author | เต็มเดือน หล้าวงษา | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2012-02-26T04:50:24Z | - |
dc.date.available | 2012-02-26T04:50:24Z | - |
dc.date.issued | 2519 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17032 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2519 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาถึงจำนวนครั้งในการฝึกการประสานงานระหว่างสายตากับมือของกิจกรรมบาสเกตบอล ในปริมาณต่าง ๆ กัน เพื่อให้ทราบถึงปริมาณที่จะให้ได้ผลดีที่สุดในนักศึกษาหญิง กลุ่มผู้รับการฝึกเป็นนักศึกษาหญิง ชั้นปีที่ 1 ระดับวิทยาลัย จำนวน 56 คน ซึ่งมีทักษะบาสเกตบอลอยู่ในระดับเบื้องต้น แบ่งเป็น 4 กลุ่ม ๆ ละ 14 คน ดำเนินการวิจัยโดยให้แต่ละกลุ่มฝึกการประสานงานระหว่างสายตากับมือจากแบบฝึก ซึ่งมี 3 ข้อย่อย คือ ก. การส่งและรับลูกบอลกระทบผนังในเวลา 30 วินาที (นับเป็น 1 หน่วย) ข. การส่งลูกบอลเข้าสู่เป้า 10 ครั้ง (นับเป็น 1 หน่วย) ค. การยิงประตูลูกโทษ 10 (นับเป็น 1 หน่วย) ให้กลุ่มที่ 1 เป็นกลุ่มควบคุมไม่มีการฝึก, กลุ่มที่ 2 ฝึกข้อละ 1 หน่วย, กลุ่มที่ 3 ฝึกข้อละ 2 หน่วย, กลุ่มที่ 4 ฝึกข้อละ 3 หน่วย โดยฝึกทุกวัน สัปดาห์ละ 5 วัน เป็นเวลา 4 สัปดาห์ ระหว่างการฝึกทำการทดสอบผู้รับการฝึกในวันที่ 6 ของทุกสัปดาห์ ด้วยแบบทดสอบ 3 ข้อย่อย คือ ก. การส่งและรับลูกบอลกระทบผนังในเวลา 30 วินาที ข. การส่งลูกบอลเข้าสู่เป้า 10 ครั้ง ค. การยิงประตูลูกโทษ 10 ครั้ง นำผลการทดสอบไปหาค่าสถิติ ดังต่อไปนี้ วิเคราะห์ความแปรปรวน, เปรียบเทียบรายคู่โดยวีนิวแมน-คูลส์ และวิเคราะห์แนวโน้ม ผลการวิจัยปรากฏว่า จากการฝึก 4 สัปดาห์ ผลการทดสอบภายในแต่ละกลุ่มดีขึ้นและระหว่างกลุ่มมีความแตกต่างกันคือ กลุ่มที่มีปริมาณการฝึกมากมีผลดีขึ้นมากกว่ากลุ่มที่มีปริมาณการฝึกน้อย โดยมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 ความก้าวหน้าของการประสานงานระหว่างสายตากับมือในกลุ่มการทดลองโดยเฉลี่ยมีลักษณะเป็นเส้นตรงอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05. ฉะนั้น จึงสรุปได้ว่า ในการฝึกการประสานงานระหว่างสายตากับมือ, ปริมาณที่ต่างกัน ทำให้ผลการทดสอบของแต่ละกลุ่มการทดลองมีความแตกต่างกัน โดยทุกกลุ่มมีความก้าวหน้าของการประสานงานระหว่างสายตากับมือโดยเฉลี่ยดีขึ้นตามลำดับ และกลุ่มที่มีปริมาณการฝึกมากที่สุดเป็นกลุ่มที่มีความก้าวหน้าดีที่สุด ปริมาณในการฝึกการประสานงานระหว่างสายตากับมือของกิจกรรมบาสเกตบอลที่ดีที่สุดในการวิจัยครั้งนี้สำหรับนักศึกษาหญิงคือ ปริมาณในการฝึกของกลุ่มที่ 4 (การส่งและรับลูกบอลกระทบผนัง 3x30 วินาที การส่งลูกบอลเข้าสู่เป้า 3x10 ครั้ง และการยิงประตูลูกโทษ 3 x 10 ครั้ง) | - |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study was to find an amount of times in eye-hand co-ordination basketball training which caused the best result in college girls. Subjects were 56 first year college girls with minimal basic basketball skills. Divided into a controlled group and 3 experimental groups, 14 subjects in each group. Training model composed of 3 parts : Push-Pass for 30 Seconds (1 unit), Throwing Ball to the Target 10 Times (1 unit), and Free Throw Shooting 10 Times (1 unit). The first group which was controlled group had no training. Each experimental group trained every part, the second group trained 1 unit, the third group trained 2 units, and the fourth group trained 3 units, 5 days a week, for 4 weeks. On the sixth day of week, all subjects were tested by the eye-hand co-ordination test which composed of 3 parts: Push-Pass for 30 Seconds, Throwing Ball to the Target 10 Times, and Free Throw Shooting 10 Times. The data were analyzed by using the two-way Analysis of Varience, the Newman-Keuls procedures, and Grend Analysis. The result of all 3 parts indicated that the differences in between groups and within groups were statistically significant at the level 0.05, the eye-hand co-ordination basketball skill of 4 groups in average developed in linear trend significantly at the level 0.05. Therefore, an amount of times for the best result in eye-hand co-ordination basketball training in this study is the quantity of training of the fourth group. (Push-pass for 3 x 30 seconds, Throwing ball to the target 3 x 10 times, Free throw shooting 3 x 10 times). | - |
dc.format.extent | 489663 bytes | - |
dc.format.extent | 525837 bytes | - |
dc.format.extent | 584719 bytes | - |
dc.format.extent | 286189 bytes | - |
dc.format.extent | 636533 bytes | - |
dc.format.extent | 364445 bytes | - |
dc.format.extent | 578291 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | บาสเกตบอล | en |
dc.title | การศึกษาจำนวนครั้งที่จะให้ได้ผลดีที่สุดในการฝึกประสานงาน ระหว่างสายตากับมือของกิจกรรมบาสเกตบอล ในนักศึกษาหญิงระดับวิทยาลัย | en |
dc.title.alternative | A study of an amount of times for the best result in eye-hand co-ordination basketball training in college girls | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | พลศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Temduon_La_front.pdf | 478.19 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Temduon_La_ch1.pdf | 513.51 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Temduon_La_ch2.pdf | 571.01 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Temduon_La_ch3.pdf | 279.48 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Temduon_La_ch4.pdf | 621.61 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Temduon_La_ch5.pdf | 355.9 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Temduon_La_back.pdf | 564.74 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.