Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17983
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธำรง เปรมปรีดิ์-
dc.contributor.authorกฤษฎา เล่าเรียนดี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.coverage.spatialภาคตะวันออกเฉียงเหนือ-
dc.date.accessioned2012-03-15T14:33:38Z-
dc.date.available2012-03-15T14:33:38Z-
dc.date.issued2527-
dc.identifier.isbn9745637548-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17983-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527en
dc.description.abstractปัจจุบันงานทางด้านชลศาสตร์ที่มีพื้นที่รับน้ำฝนขนาดเล็ก (พื้นที่รับน้ำฝนต่ำกว่า 2 ตารางกิโลเมตร) ได้มีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาชนบทในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยเป็นอย่างมาก แต่การขาดแคลนข้อมูลน้ำฝนที่มีช่วงเวลาการตกต่ำกว่า 1 วัน นับว่าเป็นปัญหาต่อการออกแบบงานทางด้านนี้ ทั้งนี้เพราะว่า มีสถานีวัดน้ำฝนที่สามารถให้ข้อมูลฝนที่มีช่วงเวลาการตกต่ำกว่า 1 วัน อยู่จำนวนน้อย ไม่เพียงพอสำหรับพื้นที่ของภาคตะวันออกเยงเหนือของประเทศไทย การวิจัยหาความสัมพันธ์ของความเข้มฝน-ช่วงเวลา-ความถี่ของฝน เพื่อหาหลักการในการประเมินค่าปริมาณน้ำฝน ที่มีช่วงเวลาการตกต่ำกว่า 1 วัน ในพื้นที่ที่ขาดแคลนข้อมูลฝนจะเป็นการสนองตอบต่อการแก้ปัญหาการขาดแคลนของข้อมูลฝนดังกล่าว ในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้ทำการวิเคราะห์ความถี่ของข้อมูลปริมาณฝนสูงสุดในแต่ละปีที่มีช่วงเวลาตั้งแต่ 15 นาที ถึง 24 ชั่วโมง จากข้อมูลกราฟฝน โดยใช้ทฤษฎีการแจกแจงความถี่แบบกัมเบล และนำผลที่ได้จากการวิเคราะห์มาศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มฝน-ช่วงเวลา-ความถี่ เพื่อหาคุณสมบัติหรือหลักการทั่วไปของความสัมพันธ์และเปรียบเทียบกับผลวิจัยที่ได้เคยกระทำมาแล้วทั้งในและต่างประเทศ จากการวิจัยหาความสัมพันธ์ เช่นค่าอัตราส่วนปริมาณฝน-ช่วงเวลาและอัตราส่วนปริมาณฝน-ความถี่ พบว่า ค่าอัตราส่วนปริมาณฝน - ช่วงเวลา มีค่าใกล้เคียงกับค่าที่ได้จากภาคเหนือของประเทศไทย และมีค่าไม่แตกต่างกันนัก กับค่าที่ได้จากสหรัฐอเมริกาและออสเตรเลีย สำหรับค่าอัตราส่วนปริมาณฝน-ความถี่ มีค่าใกล้เคียงกัน ผู้วิจัยได้เสนอผลวิจัย ที่สามารถนำไปใช้การประเมินค่าฝนที่มีช่วงเวลาต่ำกว่า 1 วัน ตามจุดต่างๆ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ที่ยังขาดแคลนข้อมูล และอาจนำไปใช้กับในภาคอื่นของประเทศที่ยังขาดข้อมูลกราฟฝน หรือในประเทศใกล้เคียง เช่น ลาวและเขมร ซึ่งไม่สามารถหาข้อมูลได้-
dc.description.abstractalternativeAt the present, the small watershed area (with the catchment area lesser than 2 square kilometer) hold the most important role for the developing of the rural area in the north eastern region of Thailand. However the lack of the pluviograph records for the period shorter than 24 hours duration is considered to be problem for the designing of hydraulic structures. Since, there are very few stations equipped with recording raingage which are able to give the records of the rainfall depth for the period shorter than 24 hours duration and also the number of stations are not enough for the area of the north eastern region of Thailand. According to this study, the frequency analysis on the maximum annual rainfall for 15 minutes to 24 hours duration from pluviograph records is carried out by using the Gumbel’s distribution theory and using the outcome of frequency analysis to generalize the rainfall intensity-duration-frequency relationships in order to find the qualification and the general principle of the relationships and also to compare the results of the study with other research results. From the study it was found that some relationships of depth-duration ratio and depth-frequency ratio, are found to be compatible and compatible with the findings of the study in the northern region of Thailand. Also it was found to be compatible and compatible with the findings in other countries such a the United States of America and Australia. The depth-duration ratio and Depth-frequency ratio were also compatible with other findings. The findings from this research can be applied to other areas in Thailand with no pluviograph records or in neighboring countries such as Laos and Kampuchea where it is difficult to obtain rainfall data and record from these neighboring countries.-
dc.format.extent458407 bytes-
dc.format.extent416844 bytes-
dc.format.extent405702 bytes-
dc.format.extent525938 bytes-
dc.format.extent247953 bytes-
dc.format.extent243909 bytes-
dc.format.extent364706 bytes-
dc.format.extent308834 bytes-
dc.format.extent2406624 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectฝน -- ไทย (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)en
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างความเข้ม-ช่วงเวลา-ความถี่ของฝนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยen
dc.title.alternativeRainfall intensity-duration-frequency relationships in North-Eastern region of Thailanden
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโยธาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Krisda_Lo_front.pdf447.66 kBAdobe PDFView/Open
Krisda_Lo_ch1.pdf407.07 kBAdobe PDFView/Open
Krisda_Lo_ch2.pdf396.19 kBAdobe PDFView/Open
Krisda_Lo_ch3.pdf513.61 kBAdobe PDFView/Open
Krisda_Lo_ch4.pdf242.14 kBAdobe PDFView/Open
Krisda_Lo_ch5.pdf238.19 kBAdobe PDFView/Open
Krisda_Lo_ch6.pdf356.16 kBAdobe PDFView/Open
Krisda_Lo_ch7.pdf301.6 kBAdobe PDFView/Open
Krisda_Lo_back.pdf2.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.