Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21602
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัฒนะ มธุราสัย
dc.contributor.advisorสิงห์ อุดราภิรมย์สุข
dc.contributor.authorศศิธร สุธนรักษ์
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2012-08-20T03:09:36Z
dc.date.available2012-08-20T03:09:36Z
dc.date.issued2527
dc.identifier.isbn9745637262
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21602
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการวิจัย การศึกษาวิจัยนี้เพื่อหาค่าเฉลี่ยของมุมและระยะทางที่วัดจากส่วนต่างๆของใบหน้าและกะโหลกศีรษะในคนไทยที่มีลักษณะใบหน้าต่างกัน3แบบตามเกณฑ์ของริกเกทส์เพื่อศึกษาความแตกต่างระหว่างโครงสร้างใบหน้าทั้ง3แบบ และศึกษาความแตกต่างระหว่างเพศประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัยนี้สามารถนำมาใช้เป็นแนวทางในการวินิจฉัยและวางแผนบำบัดรักษาผู้ป่วยทางทันตกรรมจัดฟันได้ถูกต้องและเหมะสมยิ่งขึ้น วิธีดำเนินการวิจัย เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอนจากนักเรียนโรงเรียนต่างๆในกรุงเทพมหานคร เป็นนักเรียนชาย 250 คนและนักเรียนหญิง 250 คนอายุเฉลี่ยประมาณ 19 และ18 ปี ตามลำดับ มีลักษณะการสบฟันเป็นแบบปกติตาม Angle’s Classification มีสุขภาพสมบูรณ์ และไม่เคยได้รับการบำบัดรักษาทางทันตกรรมจัดฟันมาก่อน นำกลุ่มตัวอย่างมาถ่ายภาพด้านข้างของกะโหลกศีรษะด้วยรังสีเอกซ์ จากนั้นวิเคราะห์ภาพถ่ายด้านข้างของกะโหลกศีรษะนั้นตามเกณฑ์ของริกเกทส์ กลุ่มตัวอย่างในแต่ละเพศพิจารณาจำแนกเป็น 3 กลุ่ม ตามลักษณะโครงสร้างใบหน้าในแนวดิ่งโดยพิจารณาจากค่าดัชนีรวมในการวัด ซึ่งเกิดจากการรวมค่าทางสถิติของมุมที่ใช้พิจารณาโครงสร้างใบหน้าแนวดิ่งตามเกณฑ์ของริกเกทส์ ซึ่งได้แก่ Lower face height, Facial depth, Mandibular plane angle และ Mandibular arc กำหนดให้กลุ่ม Dolichofacial มีค่าดัชนีรวมในการวัดน้อย มีจำนวนร้อยละ 15 ของจำนวนกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด กลุ่ม Brachyfacial มีค่าดัชนีรวมในการวัดมากมีจำนวนร้อยละ 15 ของจำนวนกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด และกลุ่ม Mesofacial มีค่าดัชนีรวมในการวัดอยู่ระหว่างกลุ่ม Dolichofacial และ Brachyfacial มีจำนวนร้อยละ 70 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด สรุปผลการวิจัย พบว่ากลุ่ม Dolichofacial มีตำแหน่งขากรรไกรบนและล่างเมื่อเทียบกับฐานกะโหลกศีรษะมีแนวโน้มถอยไปทางด้านหลัง Facial axis มีค่าน้อย ซึ่งแสดงว่าขากรรไกรล่างมีทิศทางการเจริญเติบโตในแนวดิ่ง ใบหน้าด้านข้างมีลักษณะโค้งนูน ร่วมกับมีลักษณะของฟันหน้าบนยื่นมาทางด้านหน้ามากกว่าและระนาบของการสบฟันมีลักษณะเอียงทำมุมกับ Corpus axis มากกว่ากลุ่ม Mesofacial และ Brachyfacial สำหรับ Soft tissue พบว่าริมฝีปากกล่างอยู่ค่อนมาทางด้านหน้ามากกว่าลักษณะใบหน้าอีก 2 แบบ เมื่อเทียบกับ E plane กลุ่ม Brachyfacial มีลักษณะตรงข้ามกับกลุ่ม Dolichofacial ค่าเฉลี่ยของมุมและระยะทางที่วัดจากส่วนต่างๆ ของใบหน้าและกะโหลกศีรษะแตกต่างกันตามกลุ่มลักษณะใบหน้าและเพศ
dc.description.abstractalternativePurpose of the study : The purpose of this research was to determine the norm value of cephalometric measurements analyzed by means of Ricketts analysis of the three facial types in Thai , to search for the different value of the dentofacial structures by the three facial types and by sex. The benefit of this study can be used as a guidance in orthodontic case diagnosis and proper treatment planning. Method of the study : The sample were selected by multistage-sampling from 250 male and 250 female students in Bangkok at the age of 16 and above whose average age were about 19 and 18, respectively. They had the Angle’s Class I relationship, with good health and no previous orthodontic treatment. The lateral head films were analyzed by means of Ricketts analysis. The samples in each sex were divided into three groups according to individual’s vertical facial pattern by considering individual’s factor scores which derived from the value of lower face height, facial axis, facial depth, mandibular plane angle and mandibular arc. Fifteen percent of the sample which had low factor score indicated dolichofacial, another 15 percent had high factor score indicated dolichofacial, another 15 percent had high factor score indicated brachyfacial, and 70 percent of the sample which had factor score between those facial groups indicated mesofacial. Result This study found that in the dolichofacial group both maxilla and mandible were relatively more retrude when compared with cranial base. This group had low facial axis angle which indicated that the mandible had vertical growth direction, having convex profile, protrusive maxillary denture, steep occlusal plane inclination. Otherwise, dolichofacial group had more protrusive lower lip than those mesofacial and brachyfacial in relation to E plane. Brachyfacial group had opposite characteristic of dolichofacial. Many of norms vary significantly with the different facial patterns and sex.
dc.format.extent480889 bytes
dc.format.extent332696 bytes
dc.format.extent1323770 bytes
dc.format.extent286741 bytes
dc.format.extent1364743 bytes
dc.format.extent683463 bytes
dc.format.extent729984 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectใบหน้า
dc.subjectกะโหลกศีรษะ
dc.subjectทันตกรรมจัดฟัน
dc.titleการวิเคราะห์ลักษณะใบหน้าคนไทยทั้ง ๓ แบบโดยใช้เกณฑ์ของริกเกทส์en
dc.title.alternativeThe Ricketts analysis of the three facial types in Thaien
dc.typeThesises
dc.degree.nameทันตแพทยศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineทันตกรรมจัดฟัน
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sasithorn_Su_front.pdf469.62 kBAdobe PDFView/Open
Sasithorn_Su_ch1.pdf324.9 kBAdobe PDFView/Open
Sasithorn_Su_ch2.pdf1.29 MBAdobe PDFView/Open
Sasithorn_Su_ch3.pdf280.02 kBAdobe PDFView/Open
Sasithorn_Su_ch4.pdf1.33 MBAdobe PDFView/Open
Sasithorn_Su_ch5.pdf667.44 kBAdobe PDFView/Open
Sasithorn_Su_back.pdf712.88 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.