Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23042
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อรัญญา ตุ้ยคำภีร์ | - |
dc.contributor.author | พิชญา จันทร์บำรุง | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา | - |
dc.date.accessioned | 2012-11-02T10:45:52Z | - |
dc.date.available | 2012-11-02T10:45:52Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23042 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์ภายหลังประสบภาวะวิกฤตทางอารมณ์ในนิสิตนักศึกษามหาวิทยาลัย ผู้ให้ข้อมูลจำนวน 10 ราย(หญิง 8 รายและชาย 2 ราย) การคัดเลือกผู้ให้ข้อมูลด้วยวิธีการคัดเลือกแบบเจาะจงตามเกณฑ์ที่กำหนด ผู้วิจัยเป็นผู้เก็บข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์รายบุคคล เครื่องมือวิจัยได้แก่ แนวทางการสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพแบบทีมผู้วิจัยเห็นชอบร่วมกัน ผลการวิจัยพบประสบการณ์ภายหลังประสบภาวะวิกฤตทางอารมณ์ 5 ประเด็นหลัก ได้แก่ 1)ชนวนที่ทำให้เกิดภาวะวิกฤต จุดเริ่มต้นของภาวะที่ก่อให้เกิดความเครียดสูง ซึ่งชนวนที่กระตุ้นให้เกิดภาวะวิกฤตทางอารมณ์นี้ สามารถเกิดได้จากทั้ง การจัดการปัญหาล้มเหลว การคาดหวังแล้วกลับผิดหวัง และ ความกดดันทางจิตใจที่เป็นผลจากการดำเนินชีวิต 2)การเริ่มต้นภาวะเสียสมดุล การที่บุคคลรับรู้ถึงสถานการณ์ที่ไม่สามารถจัดการได้ทั้งที่เกิดขึ้นอย่างกะทันหัน ไม่ทันตั้งตัว หรือ การที่มีหลายเหตุการณ์สะสม ทับซ้อน ทำให้ไม่สามารถจัดการแก้ไขปัญหาได้ และนำไปสู่การเกิดภาวะวิกฤต 3)ภาวะเสียสมดุล การที่เกิดความคิดวนเวียน จมอยู่กับความทุกข์ใจ ไม่สามารถหาทางออกให้กับปัญหา ส่งผลให้เกิดผลกระทบ ทั้งต่อจิตใจและร่างกาย เช่น ไม่สามารถทำสิ่งต่างๆได้สมบูรณ์ดังเดิม จำนนต่อปัญหา หรือ สุขภาพร่างกายอ่อนแอลง เช่น น้ำหนักตัวลดลง เป็นต้น 4)การมีตัวช่วยและแหล่งเกื้อหนุนที่ช่วยเสริมสร้างกำลังใจ และความเข้มแข็งจากภายใน เพื่อเป็นแรงให้ก้าวข้ามผ่านภาวะวิกฤตไปได้ เช่น กำลังใจจากบุคคลในครอบครัว 5)การเติบโตภายหลังประสบภาวะวิกฤต ความเปลี่ยนแปลงเชิงบวกที่เกิดขึ้นเมื่อสามารถผ่านพ้นภาวะวิกฤต สามารถอยู่ร่วมกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในชีวิตได้ดีขึ้น มีสัมพันธภาพที่ดีขึ้นกับบุคคลในครอบครัว ตลอดจน มีภูมิคุ้มกันในการเผชิญปัญหาต่อไป กล่าวโดยสรุปเมื่อนิสิตนักศึกษาผ่านพ้นประสบการณ์วิกฤตทางอารมณ์ด้วยการมีตัวช่วยและแหล่งเกื้อหนุนที่พอเพียง ภาวะวิกฤตทางอารมณ์กลับเป็นสิ่งที่สร้างความเข็มแข็งภายในและนำไปสู่การเติบโตอย่างมีภูมิคุ้มกันที่ดีด้านจิตใจและมีวุฒิภาวะได้ | en |
dc.description.abstractalternative | The present research aimed at studying experiences of post–emotional crisis among university students. Participants were 10 undergraduates (8 females and 2 males) selected purposively according to set criteria. Data were collected by the researcher through individual interview and subsequently analyzed using a consensus qualitative research method. Results revealed 5 themes of post-emotional crisis experiences: 1)Triggers for the crisis: the beginning conditions that lead to high stress, which can be both internal and external factors, including inadequate problem-solving skills, disappointments, and the pressure from daily living. 2) The pre-crisis state: the perception that the situation is beyond one’s coping abilities as a result of its suddenness or complications. 3) Physical and psychological disequilibrium: caused by psychological imbalance, an overwhelming sense of sadness and hopelessness leading to the desperation in resolving the problem, as well as the physical imbalance, such as weight loss. 4) Resources and support: the encouragement to face and overcome the obstacles, such as family support. 5) Post-crisis growth: the positive changes occurring after the crisis, such as an increased appreciation of life, more meaningful interpersonal relationships, and an increased sense of personal strength. In sum, students with sufficient resource and support can transform emotional crisis into inner strength and personal growth. | en |
dc.format.extent | 2905839 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.978 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ความเครียด (จิตวิทยา) | en |
dc.subject | นักศึกษา -- การดำเนินชีวิต | en |
dc.subject | นักศึกษา -- การให้คำปรึกษา | en |
dc.subject | การบริหารความเครียด | en |
dc.title | ประสบการณ์หลังเผชิญภาวะวิกฤตทางอารมณ์ของนิสิตนักศึกษามหาวิทยาลัย : การวิจัยเชิงคุณภาพแบบทีมผู้วิจัยเห็นชอบร่วมกัน | en |
dc.title.alternative | Post-emotional crisis experience of university students : a consensual qualitative study | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | จิตวิทยาการปรึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Arunya.T@Chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2011.978 | - |
Appears in Collections: | Psy - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
pitchaya_ja.pdf | 2.84 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.