Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23277
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิลปชัย สุวรรณธาดา
dc.contributor.authorวิโรจน์ เจนหัตถการกิจ
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2012-11-07T07:07:13Z
dc.date.available2012-11-07T07:07:13Z
dc.date.issued2530
dc.identifier.isbn9745678236
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23277
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2530en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการฝึกกุศโลบายจินตนาภาพที่มีต่อการเรียนรู้ทักษะและการนำไปใช้ในโอกาสอื่นที่สัมพันธ์กัน กลุ่มตัวอย่างประชากรที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนชายชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ของโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ซึ่งได้มาจากการสุ่มโดยใช้วิธีสุ่มอย่างง่าย จำนวน 40 คน ผู้เข้ารับการทดลองทุกคนจะได้รับการทดสอบก่อน (Pre-test) ด้วยเครื่องมือที่วัดตำแหน่งการเคลื่อนไหวที่เป็นเส้นโค้ง นำคะแนนจากการทดสอบครั้งแรกมาแบ่งกลุ่มทดลองออกเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มควบคุม และกลุ่มทดลอง โดยวิธีจับคู่ (Matched Group) จากนั้นให้ผู้เข้ารับการทดลองทั้งสองกลุ่มเรียนงานที่ 1 คือ เครื่องมือที่วัดตำแหน่งการเคลื่อนไหวที่เป็นเส้นโค้ง ติดต่อกันเป็นเวลา 5 วันๆละ 5 นาที กลุ่มควบคุมฝึกทักษะเพียงอย่างเดียว ส่วนกลุ่มทดลองฝึกทักษะควบคู่กับการฝึกกุศโลบายจินตนาภาพ หลังจากนั้นทำการทดสอบขั้นนำไปใช้ (Generalized-test) ทั้ง 2 กลุ่ม โดยใช้งานที่ 2 คือ เครื่องมือที่วัดตำแหน่งการเคลื่อนไหวที่เป็นเส้นตรง ฝึกกลุ่มละ 3 ครั้งๆ ละ 5 นาที ภายในเวลา 1 วัน นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์โดยใช้ค่าความผิดพลาดโดยเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวน 2 ทาง และการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่โดยวิธีนิวแมนคูลส์ เพื่อทดสอบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญของค่าเฉลี่ย ผลการวิจัยพบว่า 1. ผู้เข้ารับการทดลองทั้งกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองมีพัฒนาการของระดับความสามารถทางทักษะเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 และ .01 ตามลำดับ 2. กลุ่มทดลองมีระดับความสามารถทางทักษะสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 3. ผู้เข้ารับการทดลองแต่ละกลุ่ม มีพัฒนาการของระดับความสามารถขั้นนำไปใช้ในโอกาสอื่นที่สัมพันธ์กัน ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ .05 4. กลุ่มทดลองมีระดับความสามารถของการนำไปใช้ในโอกาสอื่นที่สัมพันธ์กันสูงกว่า กลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to investigate the effects of imagery strategy training on skill learning and related generalization. Forty male subjects were randomized by sample random sampling method from all Mathayom Suksa four students of The Demonstration School of Kasetsart University. All subjects were pretested with curvilinear positioning task. They were matchedly assigned into two groups as to the control group and the experimental group. Then, They consecutively practiced the curvilinear positioning task for five days of five minutes. The control group only practiced the movement skill, whereas the experimental group practiced the movement skill with imagery stategy. Later, both groups were tasted the generalized test by using the linear positioning task. In this phase, all subjects only performed the movement skill for three trials of 5 minutes in one day. The obtained data were, than, analyzed into absolute error means and standard deviations. The t-test, two-way analysis of variance,and Newman-Keuls multiple range test were employed to determine if there were any significant differences. The results indicated that: 1. The performance of the control group and experimental group was significantly increased at the .05 and .01 level. 2. The experimental group had significantly better performance than of the control group at the .01 level. 3. In the generalization phase, each group had no significant improvement at the .05 level. 4. The experimental group had significantly better related generalization than of the control group at the .01 level.
dc.format.extent7752587 bytes
dc.format.extent10988698 bytes
dc.format.extent6391683 bytes
dc.format.extent4110471 bytes
dc.format.extent8082071 bytes
dc.format.extent7200634 bytes
dc.format.extent8213052 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleผลของการฝึกกุศโลบายจินตนาภาพที่มีต่อการเรียนรู้ทักษะ และการนำไปใช้ในโอกาสอื่นที่สัมพันธ์กันen
dc.title.alternativeEffects of imagery strategy in skill learning and related generalizationen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineพลศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wiroj_ja_front.pdf7.57 MBAdobe PDFView/Open
Wiroj_ja_ch1.pdf10.73 MBAdobe PDFView/Open
Wiroj_ja_ch2.pdf6.24 MBAdobe PDFView/Open
Wiroj_ja_ch3.pdf4.01 MBAdobe PDFView/Open
Wiroj_ja_ch4.pdf7.89 MBAdobe PDFView/Open
Wiroj_ja_ch5.pdf7.03 MBAdobe PDFView/Open
Wiroj_ja_back.pdf8.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.