Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24674
Title: การสร้างเครื่องอ่านตัวอักษรเพื่อใช้ในการจำแนกตัวเลขลายมือเขียน
Other Titles: Construction of a character reader for classifying handwritten numerals
Authors: พิเชฐ อุดมประเสริฐ
Advisors: กฤษดา วิศวธีรานนท์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Subjects: อุปกรณ์รู้จำอักขระด้วยวิธีการทางแสง
การรู้จำอักขระด้วยวิธีการทางแสง
การรู้จำรูปแบบ
Issue Date: 2529
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: วิทยานิพนธ์นี้ กล่าวถึงการสร้างเครื่องอ่านตัวอักษร เพื่อใช้เป็นอุปกรณ์ในการศึกษา การจดจำรูปแบบ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการจำแนกตัวเลขอารบิคลายมือเขียน เครื่องอ่านตัวอักษรที่สร้างขึ้นประกอบด้วย กล้องวิดิคอน อินเตอร์เฟสบอร์ด ชุดไมโครคอมพิวเตอร์ อินเตอร์เฟสบอร์ดทำหน้าที่แปลงสัญญาณวิดิโอจากกล้องให้เป็นสัญญาณภาพดิจิตอล 2 ระดับ ส่งเข้าเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ โดยสามารถอ่านได้ละเอียดีกว่า 90 x 75 จุดต่อตารางเซนติเมตร ได้พัฒนาซอฟท์แวร์สำหรับขบวนการจดจำตัวเลขอารบิคซึ่งประกอบด้วยการจัดการล่วงหน้า การนำเสนอรูปแบบ การจำแนกรูปแบบได้ทำการทดสอบการจำแนกตัวเลขลายมือเขียน และตัวเลขตัวพิมพ์ดีด ผลปรากฏว่ามีความถูกต้อง ประมาณร้อยละ 90 สำหรับตัวเลขลายมือเขียนจากการสุ่มตัวอย่างลายมือเขียน 1,000 ตัว และร้อยละ 100 พอดี สำหรับตัวเลขตัวพิมพ์ดีดจากตัวอย่าง 9 แบบ
Other Abstract: This thesis presents a construction of a character reader. The character reader is used as a device for the study of image pattern recognition, especially, the classification of the Arabic handwritten numerals. The character reader consists of a vidicon camera, an interface board and a microcomputer system. The interface board converts the video signals from the camera to two-level digital image signals to be sent to the microcomputer. The image resolution is better than 90 x 75 pixels per square centimeter. A software for the recognition of the Arabic numerals has been developed. The software modules are preprocessing, pattern representation and character classification. The software has been tested with both handwritten numerals and typewriter numerals. The recognition accuracy is about 90 percent for handwritten numerals from 1,000 samples and exactly 100 percent for typewriter numerals from 9 typing styles.
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2529
Degree Name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิศวกรรมไฟฟ้า
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24674
ISSN: 9745666742
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pichet_Ud_front.pdf338.7 kBAdobe PDFView/Open
Pichet_Ud_ch1.pdf89.96 kBAdobe PDFView/Open
Pichet_Ud_ch2.pdf539.73 kBAdobe PDFView/Open
Pichet_Ud_ch3.pdf557.98 kBAdobe PDFView/Open
Pichet_Ud_ch4.pdf531.96 kBAdobe PDFView/Open
Pichet_Ud_ch5.pdf186.28 kBAdobe PDFView/Open
Pichet_Ud_ch6.pdf94.42 kBAdobe PDFView/Open
Pichet_Ud_back.pdf795.1 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.