Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26796
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอศิ บุญจิตราดุลย์-
dc.contributor.authorสิทธิพงศ์ สถาพรนานนท์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-11-29T02:41:40Z-
dc.date.available2012-11-29T02:41:40Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741748078-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26796-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาผลกระทบของแทปที่มีต่อโครงสร้างการไหลโดยเฉลี่ยของเจ็ทร้อนที่ไม่หมุนควง และเจ็ทร้อนที่หมุนควงในกระแสลมขวาง โดยเจ็ทร้อนที่หมุนควงนั้นสร้างขึ้นมาจากการเปาอากาศร้อนผ่านชุด ท่อหมุนซึ่งภายในบรรจุ Honeycomb ทำให้เจ็ทมีความเร็วตามแนวสัมผัสที่ขอบปากเจ็ทและผลรวมของค่า Circulation รอบปากเจ็ทไม่เป็นศูนย์ ในการทดลองได้ทำการวัดการกระจายตัวของอุณหภูมิโดยเฉลี่ยบน ระนาบหน้าตัดที่ตั้งฉากกับทิศทางการไหลของกระแสลมขวาง ทั้งนี้ได้ทำการทดลองที่ค่าอัตราส่วนความเร็วประสิทธิผล (r) คงที่ประมาณ 4.0 โดยมีค่าอัตราส่วนเสวิร์ล (Sr) เท่ากับ 0 ในกรณีเจ็ทไม่หมุนควง และเท่ากับ 0.52 ในกรณีเจ็ทหมุนควง ที่เรโนลด์นัมเบอร์ของเจ็ทประมาณ 14,000 และของกระแสลมขวางประมาณ 4,000 โดย ได้ใช้แทปรูปสามเหลี่ยมซึ่งมีขนาดพื้นที่ประมาณ 3.0% ของพื้นที่ปากเจ็ท วางอยู่กับที่บนขอบปากเจ็ทและเลื่อน ไปโดยรอบ 8 ตำแหน่ง สำหรับผลการทดลองในกรณีเจ็ทไม่หมุนควงในกระแสลมขวาง พบว่าโครงสร้างการไหลจะมีความไว (Sensitivity) มากที่สุดเมื่อติดแทปบริเวณตำแหน่ง Lateral ไปจนถึงตำแหน่ง Windward โดยเจ็ทจะเกิดการ เปลี่ยนแปลงจากโครงสร้างรูปไตซึ่งมิลักษณะโครงสร้างการไหลแบบ Counter-Rotating Vortex Pair (CVP) ในกรณีไม่ติดแทป ไปเป็นโครงสร้างรูปจุลภาคและยังคงรูปร่างเช่นนี้อยู่จนถึงตำแหน่งหน้าตัดสุดท้ายที่ทำการวัด สำหรับผลการทดลองในกรณีเจ็ทหมุนควงในกระแสลมขวาง พบว่ามีผลที่คล้ายกับกรณีเจ็ทไม่หมุนควง แต่อย่างไรก็ตามยังคงมีความแตกต่างอยู่บ้าง กล่าวคือโครงสร้างการไหลของกรณีเจ็ทหมุนควงจะมีความไว ต่อตำแหน่งของแทปในช่วงบริเวณที่กว้างกว่ากรณีเจ็ทไม่หมุนควง โดยบริเวณนี้คือจากตำแหน่ง Pressure- Leeward ไปจนถึงตำแหน่ง Suction เมื่อเลื่อนตำแหน่งแทปตามทิศทางการหมุนของเสวิร์ล อย่างไรก็ตาม บริเวณที่มีความไวต่อโครงสร้างการไหลมากที่สุด ก็คือบริเวณตรงกลางระหว่างตำแหน่ง Pressure ไปจนถึง ตำแหน่ง Windward โดยโครงสร้างการไหลจะเปลี่ยนแปลงไปตามตำแหน่งที่ติดแทปในบริเวณนี้ อีกทั้งโครง สร้างการไหลดังกล่าวยังมีรูปร่างเปลี่ยนแปลงไปจากกรณีไม่ติดแทปอย่างมาก และยังคงอยู่จนถึงตำแหน่งหน้า ตัดสุดท้ายที่ทำการวัดอีกเช่นเดียวกัน จากผลการทดลองนี้บ่งชี้ว่า กลไกซึ่งเกี่ยวเนื่องกับการเกิดโครงสร้างการไหลทั้งในกรณีเจ็ทที่ไม่หมุนควงและกรณีเจ็ทที่หมุนควงในกระแสลมขวางนั้น น่าจะเกี่ยวเนื่องอย่างใกล้ชิดกับบริเวณดังกล่าวข้างต้น อีกทั้ง ยังได้ชี้แนะว่ากลไกการเกิดโครงสร้างการไหลน่าจะเกี่ยวเนื่องอย่างใกล้ชิดกับการพัฒนา Skewed Shear Layer ซึ่งอยู่ตามแนวทิศทางการไหลของกระแสลมขวาง ใกล้ลำของเจ็ทที่ปากทางออกอีกด้วย-
dc.description.abstractalternativeEffects of tab on mean flow structures of a heated non-swirling jet in crossflow and a heated swirling jet in crossflow are investigated. The heated swirling jet with non-zero tangential velocity, non-zero circulation is generated by passing hot air through a rotating pipe with honeycomb. Then, temperature distributions in the cross planes (y-z plane) downstream of the jet are surveyed. This experiment is conducted at a fixed nominal effective velocity ratio of 4.0, swirl ratio (Sr) of 0 (no swirl) and 0.52, at jet Reynolds number of approximately 14,000 and crossflow Reynolds of approximately 4,000. A stationary triangular tab with area blockage of 3.0 percent is placed at eight different azimuthal positions along the periphery of the jet exit. For the case of a non-swirling jet in crossflow, the results show that the flow structure is most sensitive near the lateral-windward region. The kidney-shape structure that is associated with the counter-rotating vortex pair (CVP) in the case without tab is observed to be changed to a comma structure and persists downstream to the last measurement station. For the case of a swirling jet in crossflow, similar results are observed although with some differences. That is, the results show that the downstream structure of the swirling jet is sensitive in a wider region, from pressure-leeward to suction when moving in the same rotational sense as the swirl. Nonetheless, the most sensitive region is still centered on the pressure-windward region. Depending upon the tab location in this region, the downstream structure in the case without tab is observed to be changed to different structural shapes and, again, persists to the last measurement station. These results indicate that the mechanism that is responsible to the generation of the downstream structure, in both cases of with and without swirl, is closely related to these regions. In addition, they also suggest to the generation mechanism that is closely related to the development of the skewed shear layer along the surrounding crossflow direction near the jet exit column.-
dc.format.extent6613299 bytes-
dc.format.extent5773554 bytes-
dc.format.extent4270617 bytes-
dc.format.extent25935978 bytes-
dc.format.extent1558161 bytes-
dc.format.extent39984497 bytes-
dc.format.extent10348140 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleผลกระทบของเทปต่อการกระจายตัวของอุณหภูมิของเจ็ทร้อนที่หมุนควงในกระแสลมขวางen
dc.title.alternativeEffects of tab on temperature distribution in a heated swirling jet in crossflowen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเครื่องกลes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sidtipong_sa_front.pdf6.46 MBAdobe PDFView/Open
Sidtipong_sa_ch1.pdf5.64 MBAdobe PDFView/Open
Sidtipong_sa_ch2.pdf4.17 MBAdobe PDFView/Open
Sidtipong_sa_ch3.pdf25.33 MBAdobe PDFView/Open
Sidtipong_sa_ch4.pdf1.52 MBAdobe PDFView/Open
Sidtipong_sa_ch5.pdf39.05 MBAdobe PDFView/Open
Sidtipong_sa_back.pdf10.11 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.