Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3246
Title: การควบคุมหน่วยการผลิตอัตโนมัติขนาดเล็กและกลางผ่านเครือข่าย
Other Titles: Small and medium size automation-cell control through a network
Authors: ราชิต ลิมป์จันทรา, 2517-
Advisors: วิบูลย์ แสงวีระพันธุ์ศิริ
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
Advisor's Email: viboon.s@eng.chula.ac.th, Viboon.S@Chula.ac.th
Subjects: การควบคุมการผลิต
การควบคุมอัตโนมัติ
Issue Date: 2542
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ แสดงถึงการนำเอาระบบเครือข่ายการควบคุมมาใช้กับระบบการผลิตอัตโนมัติแบบโมดูล ซึ่งสามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบของสายการผลิตได้หลากหลายรูปแบบ ระบบเครือข่ายที่นำมาใช้จะครอบคลุมทุกระดับของการสื่อสาร ตั้งแต่ระดับล่างสุดเป็นเครือข่ายของอุปกรณ์ตรวจรู้ (Sensor) และอุปกรณ์ขับ (Actuator) ระดับกลางเป็นเครือข่ายของพีแอลซี (PLC) และระดับบนสุดเป็นเครือข่ายโรงงาน นอกจากนั้นยังได้พัฒนาโปรแกรมสำหรับตรวจดู (Monitor) สายการผลิตในรูปแบบของรูปภาพสามารถแสดงการเคลื่อนไหวได้ตามการทำงานของสายการผลิตจริง ผลที่ได้จากการวิจัย แสดงให้เห็นถึงความยืดหยุ่น (Flexibility) ของสายการผลิต สามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบของสายการผลิตได้ง่าย และรวดเร็ว รวมทั้งสามารถตรวจดูการทำงาน และข้อมูลชิ้นงานที่ผลิตได้จากทุกที่ภายในโรงงาน ซึ่งเป็นการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันในอุตสาหกรรมการผลิตปัจจุบัน
Other Abstract: This thesis studies the advantage of using control network in modular production system that can be adjusted or changed the combination of individual modules. This network includes all level of communication between software and hardware components. Low level is sensor and actuator network, network, middle level is PLC network and top level is factory network. The research shows development of monitor program of the production line. The monitor program will obtain the sensor and actuator status through high level network and link the information with graphic objects for displaying the animated result on the client screen. The research also shown, when incorporation the high-level network to the controller, we can improve the flexibility of production line. The production line can be adjusted to a new possible combination with simpler and faster. Furthermore, Operators can real-time monitor the product and status of production line from everywhere in the factory through network client.
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542
Degree Name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิศวกรรมเครื่องกล
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3246
ISBN: 9743346341
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
rachit.pdf6.54 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.