Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32784
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรรณระพี สุทธิวรรณ-
dc.contributor.advisorประไพพรรณ ภูมิวุฒิสาร-
dc.contributor.authorปิยฉัตร ตระกูลวงษ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2013-07-03T12:48:55Z-
dc.date.available2013-07-03T12:48:55Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32784-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en_US
dc.description.abstractพัฒนาและตรวจสอบความตรง (validation) ของ โมเดลของการคุกคามทางเพศต่อการถอนตัวจากงานของพนักงานหญิง โดยมีความพึงพอใจ ในงาน การรับรู้สุขภาพ และสุขภาพด้านจิตใจ เป็นตัวแปรส่งผ่าน กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาในครั้ง นี้ ได้แก่ พนักงานหรือลูกจ้างเพศหญิง ที่มีอายุระหว่าง 25-35 ปี ที่ทำงานในองค์การทั้ง ภาครัฐและเอกชน โดยในองค์การที่ทำงานนั้นมีพนักงานทั้งเพศชายและเพศหญิง จำนวน 502 คน ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยตัวแปรแฝง 5 ตัวแปร และตัวแปรสังเกตได้ 13 ตัวแปร ตรวจสอบความตรงของโมเดลโดยการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างด้วยโปรแกรม ลิสเรล ผลการวิเคราะห์โมเดลเชิงโครงสร้าง พบว่าผลการตรวจสอบความตรงของโมเดล ความสัมพันธ์ระหว่างการคุกคามทางเพศต่อการถอนตัวจากงาน พบว่าโมเดลมีความ สอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์อย่างสมบูรณ์ เมื่อพิจารณาค่าสถิติที่ใช้ในการ ทดสอบ ค่าไค-สแควร์ (Chi - square) มีค่าเท่ากับ 54.18, df = 50 ค่า RMSEA เท่ากับ 0.024 ค่า RMR เท่ากับ 0.0242 GFI เท่ากับ 0.981, AGFI เท่ากับ 0.965 และมีค่า p มากกว่า .05 คือเท่ากับ .08565 ซึ่งเป็นไปตามแนวคิดของ Hair et al. (2006) ที่กำหนดไว้ ดังนั้นโมเดลนี้มี ความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์อย่างสมบูรณ์ โมเดลสามารถอธิบายความแปรปรวนของตัวแปรความพึงพอใจในงาน การรับรู้ สุขภาพ สุขภาพด้านจิตใจ และการถอนตัวจากงาน ได้ร้อยละ 61.2, 62.9, 100.0 และ 89.9 ตามลำดับen_US
dc.description.abstractalternativeTo develop and validate the causal model of effect of sexual harassment on withdrawal from work in female employees: the mediating roles of job satisfaction, health perception and psychological conditions. The 502 female employees age 25 to 35 were participants of this study. The developed model consisted of 5 latent variables and 13 observed variables. Structural equation model (LISREL) was used for statistical analysis. Structural modeling analyses indicated that: The causal model of sexual harassment on withdrawal from work in female employees was significantly well consistent with empirical data as indicated by Chi – square = 54.18, df = 50, p = 0.08565, RMSEA = 0.024, RMR = 0.0242, GFI = 0.981 and AGFI = 0.965 This model could explain the variance in job satisfaction, health perception, psychological conditions and withdrawal from work about 61.2, 62.9, 100.0 and 89.9 percent respectively.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.503-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการคุกคามทางเพศen_US
dc.subjectความพอใจในการทำงานen_US
dc.subjectคุณภาพชีวิตการทำงานen_US
dc.subjectSexual harassmenten_US
dc.subjectJob satisfactionen_US
dc.subjectQuality of work lifeen_US
dc.titleอิทธิพลของการคุกคามทางเพศต่อการถอนตัวจากงานของพนักงานหญิง โดยมีความพึงพอใจในงาน การรับรู้สภาพ และสุขภาพด้านจิตใจเป็นตัวแปรส่งผ่านen_US
dc.title.alternativeEffect of sexual harassment on withdrawal from work in female employees : the mediating roles of job satisfaction, health perception and psychological conditionsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPanrapee.S@Chula.ac.th-
dc.email.advisorPraphaiphun.P@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.503-
Appears in Collections:Psy - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
piyachatr_tr.pdf2.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.