Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34589
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชัยฤทธิ์ สัตยาประเสริฐ | |
dc.contributor.author | อรุพงศ์ วุ่นสะยุคะ | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | |
dc.date.accessioned | 2013-08-10T11:21:44Z | |
dc.date.available | 2013-08-10T11:21:44Z | |
dc.date.issued | 2537 | |
dc.identifier.isbn | 9745849561 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34589 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2537 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้ทำการศึกษาปฏิกิริยาระหว่างไนโตรเจนออกไซด์กับไฮโดรเจน ในช่วงอุณหภูมิ 200 ถึง 400 องศาเซลเซียส โดยใช้คอปเปอร์ออกไซด์บนอะลูมิเนียมออกไซด์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาในเตาปฏิกรณ์เคมีแบบดิฟเฟอเรนเซียล ผลการทดลองถูกวิเคราะห์ด้วยเครื่องก๊าซโครมาโตกราฟีที่มีเครื่องวัดสัญญาณชนิด ทีซีดี และการคำนวณด้วยวิธีการถดถอยเชิงเส้น ผลที่ได้เป็นสมการอัตราการเกิดปฏิกิริยา ผลการทดลองพบว่า ตัวเร่งปฏิกิริยาที่มี 10 เปอร์เซ็นต์คอปเปอร์ออกไซด์บนอะลูมิเนียมออกไซด์ โดยน้ำหนัก เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาที่ให้ค่าสัดส่วนการเปลี่ยนรูปของไนโตรเจนออกไซด์สูงสุดเมื่อเทียบกับตัวเร่งปฏิกิริยาที่มี 8 และ 12 เปอร์เซ็นต์คอปเปอร์ออกไซด์บนอะลูมิเนียมออกไซด์ โดยน้ำหนักอัตราการไหลต่ำสุดเท่ากับ 135.7501 ลูกบาศก์เซนติเมตรต่อนาทีเมื่อใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาหนัก 0.1 กรัมและตัวเร่งปฏิกิริยาขนาดใหญ่สุดเท่ากับ 337.510⁻⁶ เมตร เพื่อเกิดสภาวะการขจัดผลของความต้านทานการถ่ายเทมวลและความร้อนที่มีต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา สำหรับปฏิกิริยาที่ไม่มีตัวเร่งปฏิกิริยามีสัดส่วนการเปลี่ยนรูปของไนโตรเจนออกไซด์และอัตราการเกิดปฏิกิริยาสูงสุดเท่ากับ 0.42 และ 0.30 x⁻³ โมลของไนโตรเจนออกไซด์ที่ทำปฏิกิริยาต่อชั่วโมง ตามลำดับ และสำหรับปฏิกิริยาที่ใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาเป็นเวลา 7 ชั่วโมง ทำให้สัดส่วนการเปลี่ยนรูปของไนโตรเจนออกไซด์ลดลง 4.21 เปอร์เซ็นต์ สำหรับสมการอัตราการเกิดปฏิกิริยาได้อันดับของปฏิกิริยา เมื่อคิดเทียบกับความเข้มข้นของไนโตรเจนออกไซด์และไฮโดรเจนเท่ากับ 1.71 และ 1.09 ตามลำดับ คิดเป็นอันดับรวมของปฏิกิริยาเท่ากับ 2.80 มีแฟคเตอร์แห่งความถี่เท่ากับ 1.05x10¹⁸ และพลังงานกระตุ้นเท่ากับ 4.48 กิโลจูลต่อโมล เมื่อทดสอบผลการทดลองกับสมการอัตราการเกิดปฏิกิริยาที่ได้พบว่าผิดพลาดสูงสุดเท่ากับ 9.74 เปอร์เซ็นต์ | |
dc.description.abstractalternative | The aim of this research was to investigate the reaction between nitrogen oxide and hydrogen with CuO/A1₂O₃ as the catalyst. The reaction was carried out in the differential reactor with the range of temperature of 200-400°C. The products were subsequently analyzed by TCD gas chromatography and the results were calculated through the method of Linear Regression to obtain the rate equation. The results revealed that the highest conversion of nitrogen oxide could be obtained by the use of 10% CuO/A1₂O₃ by weight compared to 8% and 12% of the same catalyst. To eliminate the effect of resistance of mass and heat transfer on the rate of the reaction, the minimum flow rate was set at 135.7501 cm³ min⁻¹ with the catalyst weight of 0.1 gm and the maximum particle size of the catalyst of 337.5x10⁻⁶ m. For non-catalytic reaction, the maximum conversion of nitrogen oxide and the rate of the reaction were shown to be 0.42 and 0.30x10⁻³ mole of NO per hour respectively. When the reaction was progressively catalyzed with CuO/A1₂O₃ for the period of 7 hours, it was found that the conversion of nitrogen oxide decreased by 4.21%. The orders of the rate of the reaction with respect to the concentration of nitrogen oxide and hydrogen were 1.71 and 1.09 respectively, thus the overall order being 2.80. The frequency factor was 1.05x10¹⁸ and the activation energy was 4.48 kjoule per mole. When the experimental results were compared with the proposed rate equation, the maximum error was found to be 9.74%. | |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.title | ปฏิกิริยาไนโตรเจนออกไซด์กับไฮโดรเจน บนตัวเร่งปฏิกิริยาคอปเปอร์ออกไซด์/อะลูมิเนียมออกไซด์ | en_US |
dc.title.alternative | Nitrogen oxide-hydrogen reaction on the CuO/Al2O3 catalyst | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมเคมี | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Arupong_wo_front.pdf | 3.67 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Arupong_wo_ch1.pdf | 2.37 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Arupong_wo_ch2.pdf | 16.98 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Arupong_wo_ch3.pdf | 10.18 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Arupong_wo_ch4.pdf | 11.96 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Arupong_wo_ch5.pdf | 2.22 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Arupong_wo_back.pdf | 6.51 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.