Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/37660
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorปิยะสาร ประเสริฐธรรม-
dc.contributor.authorบรรเจิด จงสมจิตร-
dc.contributor.authorจูงใจ ปั้นประณต-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวิศวกรรมเคมี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวิศวกรรมเคมี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวิศวกรรมเคมี-
dc.date.accessioned2014-01-06T09:02:42Z-
dc.date.available2014-01-06T09:02:42Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/37660-
dc.descriptionจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.description.abstractโครงการวิจัยนี้ได้ศึกษาผลของการใช้ตัวกระตุ้นที่ผสมกันต่อการโคพอลิเมอร์ไรเซชันของเอทิลีนกับหนึ่งเฮกซีนด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาซีเกอร์-แนตตาที่มีซิลิกากับแมกนีเซียมคลอไรด์เป็นตัวรองรับ โดยมีรายละเอียดดังนี้ งานวิจัยนี้แสดงถึงผลของการผสมตัวเร่งปฏิกิริยาร่วมบนเอทธิลีนพอลิเมอร์ไรเซชัน และเอทธิลีน/ 1-เฮกซีน โคพอลิเมอร์ไรเซชัน โดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา ซิกเกลอร์แนทธาบนตัวรองรับ แมกนีเซียม/ซิลิก้า ลำดับที่หนึ่ง ตัวเร่งปฏิกิริยาซิกเกลอร์-แนทธาถูกเตรียมโดยการเติมซิลิก้า จากนั้นตัวเร่งปฏิกิริยาทำการทดสอบในปฏิกิริยาเอทธิลีน พอลิเมอร์ไรเซชัน และเอทธิลีน/ 1-เฮกซีน โคพอลิเมอร์ไรเซชัน โดยเปลี่ยนตัวเร่งปฏิกิริยาร่วมที่ใช้ ไตรเอทธิลอลูมินัม (TEA), ไตร-เอ็น-เฮกซิลอลูมินัม (TnHA) ไดเอทธิลอลูมินัมคลอไรด์ (DEAC) และสารผสม TEA+DEAC, TEA+TnHA, TnHA+DEAC, TEA+DEAC+TnHA ถูกใช้เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาร่วมในการศึกษานี้ จากการทดลองพบว่าในกรณีของเอทธิลีน พอลิเมอร์ไรเซชัน ตัวเร่งปฏิกิริยาร่วม TnHA แสดงค่าแอคทิวิตี้ที่สูงที่สุดเนื่องจากการเพิ่มขนาดของกลุ่มแอลคิล มากไปกว่านั้นการทดลองนี้ได้ทำการมุ่งความสนใจไปที่การผสมตัวเร่งปฏิกิริยาร่วม ค่าแอคทิวิตี้สามารถเพิ่มสูงขึ้นเป็นสามเท่าเมื่อใช้สารผสมของตัวเร่งปฏิกิริยาร่วม และแอคทิวิตี้ของเอทธิลีนพอลิเมอร์ไรเซชัน เพิ่มขึ้นอย่างชัดเจนตามลำดับดังนี้ TEA+DEAC+TnHA>TEA+DEAC>TEA+TnHA ทั้งค่าแอกทิวิตี้ของโคพอลิเมอร์ไรเซชัน และค่าความเป็นผลึกของดคพอลิเมอร์ที่ผลิตได้ เปลี่ยนแปลงอย่างมากเมื่อเปลี่ยนตัวเร่งปฏิกิริยาร่วมจาก TEA เป็นสารผสม TEA+DEAC+TnHA หรือ TnHA และ DEAC สำหรับค่าแอกทิวิตี้ของ เอทธิลีน/ 1-เฮกซีน โคพอลิเมอร์ไรเซชัน มีค่าเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจนตามลำดับดังนี้ TEA+DEAC+TnHA>TEA+TnHA>TEA+DEAC>TnHA+DEAC>TEA>TnHA>DEAC เมื่อพิจารณาคุณสมบัติของโคพอลิเมอร์ที่ได้จากการผสมตัวเร่งปฏิกิริยาร่วม TEA+DEAC+TnHA พบว่าค่าความเป็นผลึกมีค่าลดลง เมื่อทำการผสม TnHA เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาร่วม เชื่อได้ว่าตัวเร่งปฏิกิริยาร่วมมีอิทธิพลต่อโครงสร้างของโคพอลิเมอร์ การเพิ่มขึ้นของการกระจายตัวของน้ำหนักโมเลกุลพอลิเมอร์ โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงมากนักของรูปร่างพอลิเมอร์en_US
dc.description.abstractalternativeThis research reveals the effects of mixed activators on ethylene polymerization and ethylene/ 1-hexene copolymerization over MgCl2/SiO2-supported Ziegler-Natta (ZN) catalysts. First, the conventional ZN catalyst was prepared with SiO2 addition. Then, the catalyst was tested for ethylene polymerization and ethylene/1-hexene (E/H) copolymerization using different activators. Triethyl aluminum (TEA), tri-n-hexyl aluminum (TnHA) and diethyl aluminum chloride (DEAC), TEA+DEAC, TEA+TnHA, TnHA+DEAC, TEA+DEAC+TnHA mixtures, were used as activators in this study. It was found that in the case of ethylene polymerization with the sole activator, TnHA exhibited the highest activity among other activators due to increased size of alkyl group. Further investigation was focused on the use of mixed activators. It showed that the activity of ethylene polymerization apparently increased within the order of TEA+DEAC TnHA>TEA+DEAC>TEA+TnHA. The activity can be enhanced by a factor of three when the mixed activators were employed. The synthesized copolymers were strongly changed in both of copolymerization activity and crystallinity when the activators were changed from TEA to TEA+DEAC+TnHA mixtures or pureTnHA and pure DEAC. It showed that the activity of ethylene/1-hexene copolymerization apparently increased within the order of TEA+DEAC+TnHA>TEA+TnHA>TEA+DEAC>TnHA+DEAC>TEA>TnHA>DEAC. Considering the properties of obtained copolymer with the mixed TEA+DEAC+TnHA, the crystallinity of copolymer decreased due to the presence of TnHA in the mixed activator. The activator exerted strong influences on copolymer structure. The increased molecular weight distribution (MWD) was observed without significantly change in polymer morphology.en_US
dc.description.budgetกองทุนรัชดาภิเษกสมโภชen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectตัวเร่งปฏิกิริยาen_US
dc.subjectตัวเร่งปฏิกิริยาซีเกลอร์-นัตตาen_US
dc.subjectตัวเร่งปฏิกิริยาเมทัลโลซีนen_US
dc.subjectวัสดุโครงสร้างนาโนen_US
dc.subjectCatalystsen_US
dc.subjectZiegler-Natta catalystsen_US
dc.subjectMetallocene catalystsen_US
dc.subjectNanostructured materialsen_US
dc.titleโครงการวิจัยการใช้วัสดุนาโนเป็นตัวรองรับของตัวเร่งปฏิกิริยาซีเกอร์-แนตตาและเมทัลโลซีน : รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์en_US
dc.title.alternativeApplication of nanomaterials for catalyst supports for Ziegler-Natta and metallocene catalystsen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.email.authorpiyasan.p@chula.ac.th-
dc.email.authorbunjerd.j@chula.ac.th-
dc.email.authorfchjpp@eng.chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Piyasarn_pr_54.pdf8.88 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.