Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41972
Title: Effect of reservoir fluid composition on gas recycling in gas condensate reservoirs
Other Titles: ผลกระทบขององค์ประกอบของของไหลในแหล่งกักเก็บในการอัดก๊าซกลับคืนในแหล่งกักเก็บก๊าซธรรมชาติเหลว
Authors: Chaibhorn Kittirattanapaiboon
Advisors: Suwat Athichanagorn
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Engineering
Issue Date: 2007
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: This study is performed to evaluate the feasibility of gas recycling in gas condensate reservoirs having different compositions. In this study, a simple reservoir model was constructed and 10 sets of compositions from actual field data were selected as input for compositional reservoir simulator; ECLIPSE 300 to study the effect of fluid composition on the feasibility of gas cycling application. Economics analyses were performed in order to evaluate each simulated scenario. From the simulation results, it can be concluded that the higher the mole percentage of C5+ and C7+ and molecular weight of the compositions, the higher recovery of hydrocarbon liquid can be recovered. The gas cumulative production recovery by natural depletion and gas cycling methods are more or less the same. In term of economics, fluid compositions with greater mole percentage of C5+ and C7+ and molecular weights generally result in higher NPV and IRR and shorter payback period.
Other Abstract: การศึกษานี้ได้ทำการศึกษาเพื่อประเมินความเป็นไปได้ที่จะทำการอัดก๊าซกลับคืนในแหล่งกักเก็บก๊าซธรรมชาติเหลวที่มีร้อยละของไฮโดรคาร์บอนในองค์ประกอบของของของไหลที่ต่างกัน ในการศึกษานี้แบบจำลองแหล่งกักเก็บแบบง่ายถูกสร้างขึ้นและได้เลือก 10 กลุ่มของร้อยละของไฮโดรคาร์บอนในองค์ประกอบของของของไหลจากข้อมูลจริงโดยนำมาเป็นข้อมูลของแบบจำลอง เพื่อที่จะศึกษาผลกระทบของร้อยละของไฮโดรคาร์บอนในองค์ประกอบของของของไหลในความเป็นไปได้ในการอัดก๊าซกลับคืนในแหล่งกักเก็บก๊าซธรรมชาติเหลว โดยเครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ได้ถูกนำมาวิเคราะห์ในแต่ละกรณี ผลจากการศึกษานี้สามารถสรุปได้ว่ายิ่งค่าร้อยละของไฮโดรคาร์บอนในองค์ประกอบของของของไหลในแหล่งกักเก็บก๊าซธรรมชาติเหลวที่มากกว่า 5 และ 7 และ ค่ามวลโมเลกุล มีค่ามาก ก๊าซธรรมชาติเหลวจะถูกผลิตมากขึ้น แต่ผลการผลิตสะสมของก๊าซของทั้งกรณี ผลิตโดยธรรมชาติและการผลิตโดยการอัดก๊าซกลับคืนในแหล่งกักเก็บก๊าซธรรมชาติเหลว ได้ผลการผลิตสะสมที่ใกล้เคียงกัน ในทางเศรษฐศาสตร์เมื่อค่าร้อยละของไฮโดรคาร์บอนในองค์ประกอบของของของไหลในแหล่งกักเก็บก๊าซธรรมชาติเหลวที่มากกว่า 5 และ 7 และ มวลโมเลกุลมีค่ามาก มักจะให้ผลตอบแทนในรูปของ ค่าปัจจุบันสุทธิ, อัตราผลตอบแทนที่แท้จริง และ ระยะเวลาคืนทุนจะดีขึ้นตามไปด้วย
Description: Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2007
Degree Name: Master of Engineering
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Petroleum Engineering
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41972
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chaibhorn_ki_front.pdf2.86 MBAdobe PDFView/Open
Chaibhorn_ki_ch1.pdf1.1 MBAdobe PDFView/Open
Chaibhorn_ki_ch2.pdf1.42 MBAdobe PDFView/Open
Chaibhorn_ki_ch3.pdf3.51 MBAdobe PDFView/Open
Chaibhorn_ki_ch4.pdf2.33 MBAdobe PDFView/Open
Chaibhorn_ki_ch5.pdf5.57 MBAdobe PDFView/Open
Chaibhorn_ki_ch6.pdf1.06 MBAdobe PDFView/Open
Chaibhorn_ki_back.pdf7.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.