Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42594
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุจริต คูณธนกุลวงศ์en_US
dc.contributor.authorปฏิญญา หรรษ์อิทธินันต์en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:10:57Z
dc.date.available2015-06-24T06:10:57Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42594
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาและประเมินถึงผลกระทบจากอุทกภัยของจังหวัดสุโขทัยในปัจจุบัน (ค.ศ. 1979-2006) อนาคตอันใกล้ (ค.ศ. 2015-2039) และอนาคตอันไกล (ค.ศ. 2075-2099) และจัดทำข้อแนะนำมาตรการปรับตัวเบื้องต้นซึ่งจำเป็นต้องปรับปรุงเพิ่มเติมจากปัจจุบัน ด้วยการประยุกต์ใช้ข้อมูลฝนจากแบบจำลองภูมิอากาศโลก MRI ECHAM5 และ CSIRO-MK3.5 ที่ผ่านการปรับปรุงคุณภาพด้วยการปรับแก้ความเอนเอียงเชิงสถิติและย่อส่วนเรียบร้อยแล้ว จากการศึกษาพบว่า ปริมาณน้ำฝนรายปีของลุ่มน้ำยมมีแนวโน้มเปลี่ยนแปลงจากปัจจุบันระหว่ -5.20% ถึง 4.65% ในช่วงอนาคตอันใกล้ และ -1.73% ถึง 13.28% ในช่วงอนาคตอันไกล ปริมาณฝนช่วงฤดูฝนของลุ่มน้ำยมมีแนวโน้มเปลี่ยนแปลงระหว่าง -2.45% ถึง 4.32% ในช่วงอนาคตอันใกล้ และ 3.19% ถึง 20.02% ในช่วงอนาคตอันไกล ปริมาณฝนรายเดือนของลุ่มน้ำยมในช่วงเดือนพฤษภาคม-ตุลาคม มีแนวโน้มเปลี่ยนแปลงระหว่าง -76.15% ถึง 89.24% ในช่วงอนาคตอันใกล้ และ -70.93% ถึง 87.69% ในช่วงอนาคตอันไกล ผลกระทบด้านอุทกภัยในอนาคตของจังหวัดสุโขทัย พบว่าอัตราการไหลสูงสุดผ่านสถานี Y.14 มีแนวโน้มเปลี่ยนแปลงจากปัจจุบันระหว่าง -16.06% ถึง 3.30% ในช่วงอนาคตอันใกล้ และ -19.44% ถึง 9.31% ในช่วงอนาคตอันไกล ระดับน้ำสูงสุดมีแนวโน้มเปลี่ยนแปลงระหว่าง -1.94% ถึง 0.13% ในช่วงอนาคตอันใกล้ และ -2.74% ถึง 2.72% ในช่วงอนาคตอันไกล ระดับน้ำสูงสุดเทียบกับตลิ่งจะอยู่ระหว่าง -1.31 ม. ถึง 4.39 ม. ในช่วงอนาคตอันใกล้ และ -1.31 ม. ถึง 6.54 ม. ในช่วงอนาคตอันไกล และสุดท้ายคือพื้นที่น้ำท่วมซึ่งมีแนวโน้มเปลี่ยนแปลงระหว่าง -19.44% ถึง 5.78% ในช่วงอนาคตอันใกล้ และ -23.92% ถึง 25.86% ในช่วงอนาคตอันไกล แนวทางการปรับตัวเบื้องต้นที่เสนอแนะในการศึกษาครั้งนี้คือ เพิ่มการปรับปรุงลักษณะการผันน้ำเลี่ยงเขตเศรษฐกิจจังหวัดสุโขทัย การใช้พื้นที่ทุ่งน้ำหลากฝั่งขวาของแม่น้ำยม และรูปแบบการปรับตัวแบบผสมผสาน พบว่าการปรับตัวในแบบผสมผสานที่เสนอ สามารถลดระดับน้ำท่วมในคาบการเกิดซ้ำ 5-100 ปี ณ สถานี Y.3A ลงระหว่าง 2.07 ม. ถึง 2.32 ม. เทียบกับสภาวะปัจจุบัน ในช่วงอนาคตอันใกล้ และลดลงระหว่าง 1.86 ม. ถึง 2.18 ม. ในช่วงอนาคตอันไกล ส่วนสถานี Y.33 การปรับตัวแบบผสมผสานสามารถลดระดับน้ำท่วมในคาบการเกิดซ้ำ 5-100 ปี ณ สถานี Y.33 ลงระหว่าง 1.79 ม. ถึง 2.17 ม. ในช่วงอนาคตอันใกล้ และลดลงระหว่าง 1.84 ม. ถึง 2.19 ม. ในช่วงอนาคตอันไกล ควรมีระบบเตือนภัยและการสื่อสารรองรับกรณีมีภาวะน้ำท่วมในคาบการเกิดสูงen_US
dc.description.abstractalternativeThis research studies and assesses the impact on floods at Sukhothai Province at present period (1979-2006), near future (2015–2039) and far future (2075–2099). Preliminary adaptation measure were introduced and analyzed. Results showed that annual rainfall in Yom river basin may change from present within a range of -5.20%-4.65% and -1.73%- 13.28% in near future and far future. Wet period rainfall could also change within a range of -2.45%-4.32% and 3.19%-20.02% in near future and far future.Future floods impact in Sukhothai Province also analyzed, and results showed that peak discharge at Y.14 station could change within a range of -16.06%-3.30% and -19.44%-9.31% respectively. Maximum water level could change within a range of -1.94%-0.13% and -2.74%-2.72% Flooding level may occurs within a range of -1.31-4.39 m. and -1.31-6.54 m. Lastly, flooded area is projected to change within a range of -19.44%- 5.78% and 23.92%-25.86%. The results also showed that suggested adaptation measures, i.e., flood diversion modification, utilization of floodplain at the right side of Yom River, and integration of these measures. Results showed that proposed measures did reduce flooding level at return periods between 5-100 years, at Y.3A station, within a range of 2.07-2.32 m. in the near future, and from 1.86-2.18 m. in the far future. Flooding level at Y.33 station also projected to reduce within a range of 1.79-2.17 m. in the near future and from 1.84-2.19 m. in the far future. There is still a need for warning and communication system for the floods at high return periods.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.72-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectพยากรณ์น้ำท่วม
dc.subjectโลก -- ภูมิอากาศ
dc.subjectน้ำฝน -- การวัด
dc.subjectFlood forecasting
dc.subjectEarth (Planet) -- Climate
dc.subjectRainwater -- Measurement
dc.titleการประเมินผลกระทบด้านอุทกภัยของจังหวัดสุโขทัยอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกen_US
dc.title.alternativeTHE IMPACT ASSESSMENT ON FLOODS AT THE SUKHOTHAI PROVINCE DUE TO GLOBAL CLIMATE CHANGEen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมแหล่งน้ำen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorsucharit.k@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.72-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5370273121.pdf37.88 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.