Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43378
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุนิดา ปรีชาวงษ์en_US
dc.contributor.authorสิริชยา อังกูรขจรen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:37:40Z
dc.date.available2015-06-24T06:37:40Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43378
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการสร้างเสริมสุขภาพตาม แนวคิดของเพนเดอร์ต่อการปฏิบัติตามคาแนะนาในการรักษาของผู้ป่วยวัยผู้ใหญ่ที่มีภาวะหัวใจ ล้มเหลว ซึ่งเข้ารับการรักษาแผนกผู้ป่วยในอายุรกรรม โรงพยาบาลชลประทาน จังหวัดนนทบุรี จานวน 50 ราย จับฉลากเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมโดยกลุ่มควบคุมได้รับดูแลตามปกติ และกลุ่มทดลองเข้าร่วมโปรแกรมการสร้างเสริมสุขภาพ ซึ่งประยุกต์แบบจาลองการสร้างเสริม สุขภาพของ Pender (2006) เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือ โปรแกรมการสร้างเสริมสุขภาพ ตามแนวคิดของเพนเดอร์ ประกอบด้วย การประเมินความพร้อม การให้ข้อมูลเกี่ยวกับภาวะ หัวใจล้มเหลว การสอนสาธิตและพัฒนาทักษะ การติดตามและกระตุ้นเตือน เครื่องมือที่ใช้ใน การเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบประเมินการปฏิบัติตามคาแนะนาในการรักษา ซึ่งมีค่าสัมประ สิทธิสหสัมพันธ์แอลฟา (alpha-coefficients) เท่ากับ .83 วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติเชิงบรรยาย และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. การปฏิบัติตามคาแนะนาในการรักษาของผู้ป่วยวัยผู้ใหญ่ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว กลุ่มที่เข้าร่วมโปรแกรมการสร้างเสริมสุขภาพตามแนวคิดของเพนเดอร์ ดีกว่าก่อนเข้าร่วม โปรแกรมการสร้างเสริมสุขภาพตามแนวคิดของเพนเดอร์ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p<.05) 2. การปฏิบัติตามคาแนะนาในการรักษาของผู้ป่วยวัยผู้ใหญ่ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว กลุ่มที่เข้าร่วมโปรแกรมการสร้างเสริมสุขภาพตามแนวคิดของเพนเดอร์ ดีกว่ากลุ่มที่ได้รับการดูแล ตามปกติ (p<.05)
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this quasi – experimental study, two group pretest – posttest design research was to examine the effect of health promoting program applying Pender’s model on treatment adherence in adult patients with heart failure. Fifty persons with heart failure, recruited from In Patient department of Chonprathan Hospital, Nonthaburi, participated in this study. The participants were randomly assigned into experimental and control group, 25 persons in each group. The control group received conventional nursing care while the experimental group participated in the health promoting program applying Pender’s model. The program consists of assessment, giving information, skills training on dietary adherence, information, medication administrations and medication count. The outcome was assessed by the 14-item treatment adherence questionnaire that had internal consistency with alpha coefficients of .83. Data were analyzed using descriptive and t-test. The results of this study were as follows: 1. Treatment adherence score of the experimental group after receiving the health promoting program applying Pender’s model was significantly higher than before receiving the program (p<.05). 2. Treatment adherence score of the experimental group after receiving the health promoting program applying Pender’s model was significantly higher than those in the control group (p<.05).
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.846-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectหัวใจวาย -- ผู้ป่วย
dc.subjectการส่งเสริมสุขภาพ
dc.subjectHeart failure -- Patients
dc.subjectHealth promotion
dc.titleผลของโปรแกรมการสร้างเสริมสุขภาพตามแนวคิดของเพนเดอร์ ต่อการปฏิบัติตามคำแนะนำในการรักษาของผู้ป่วยวัยผู้ใหญ่ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวen_US
dc.title.alternativeTHE EFFECT OF HEALTH PROMOTING PROGRAM APPLYING PENDER’S MODEL ON TREATMENT ADHERENCE IN ADULT PATIENTS WITH HEART FAILUREen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineพยาบาลศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorpsunida.cu@gmail.comen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.846-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5477196936.pdf6.99 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.