Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44516
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัชราภรณ์ บุญญศิริวัฒน์en_US
dc.contributor.authorสุภาพร สารเรือนen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยาen_US
dc.date.accessioned2015-08-21T09:29:31Z
dc.date.available2015-08-21T09:29:31Z
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44516
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractงานวิจัยมีวัตถุประสงเพื่อนี้ศึกษาผลของการจินตนาการถึงการมีปฏิสัมพันธ์กับคนนอกกลุ่มต่อเจตคติรังเกียจกลุ่ม การศึกษาที่ 1 ทดสอบผลของการจินตนาการต่อเจตคติรังเกียจกลุ่มแบบเด่นชัดของชาวไทยต่อชาวกัมพูชา และศึกษาตัวแปรส่งผ่าน 4 ตัวได้แก่ ความไว้วางใจคนนอกกลุ่ม ความวิตกกังวลต่อคนนอกกลุ่ม การระบุสาเหตุว่าตนชอบติดต่อคนนอกกลุ่ม และการรู้ซึ้งถึงความรู้สึกของคนนอกกลุ่ม นักศึกษามหาวิทยาลัยจำนวน 182 คน จินตนาการถึงการมีปฏิสัมพันธ์กับชาวกัมพูชา หรือ จินตนาการถึงธรรมชาติ (กลุ่มควบคุม) แล้วตอบมาตรวัดตัวแปรส่งผ่านและตัวแปรตาม ผลการวิเคราะห์บูทแสตรป พบว่าการจินตนาการถึงการมีปฏิสัมพันธ์กับชาวกัมพูชามีอิทธิพลทางอ้อมทางลบในการลดเจตคติรังเกียจชาวกัมพูชา ผ่านการเพิ่มความไว้วางใจชาวกัมพูชา การลดความวิตกกังวลในการติดต่อกับชาวกัมพูชา และการระบุสาเหตุว่าตนชอบติดต่อชาวกัมพูชา ในขณะที่การรู้ซึ้งถึงความรู้สึกของคนนอกกลุ่ม ไม่เป็นตัวแปรส่งผ่าน การจินตนาการไม่มีอิทธิพลทางตรงต่อการลดเจตคติรังเกียจกลุ่มแบบเด่นชัด การศึกษาที่ 2 ทดสอบผลของการจินตนาการถึงการมีปฏิสัมพันธ์กับคนนอกกลุ่มต่อการลดเจตคติรังเกียจกลุ่มแบบแอบแฝง นักศึกษามหาวิทยาลัย 60 คนได้รับการจัดกระทำการจินตนาการเช่นเดียวกับการศึกษาที่ 1 ก่อนรับการทดสอบการเชื่อมโยงแอบแฝงเพื่อวัดเจตคติรังเกียจชาวกัมพูชาแบบแอบแฝง ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มที่จินตนาการถึงการมีปฏิสัมพันธ์กับชาวมีคะแนนเจตคติรังเกียจกลุ่มแบบแอบแฝงต่ำกว่ากลุ่มที่จินตนาการถึงธรรมชาติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ การวิจัยนี้ค้นพบเป็นครั้งแรกว่าการจินตนาการถึงการมีปฏิสัมพันธ์กับคนนอกกลุ่มเป็นเทคนิคที่มีประสิทธิภาพในการลดการรังเกียจกลุ่มทั้งแบบเด่นชัดและแบบแอบแฝงของชาวไทยen_US
dc.description.abstractalternativeThis research aims to examine the effects of imagined intergroup contact on prejudice reduction. In Study 1, 182 college students were asked to imagine themselves either having a positive contact with a Cambodian student, or enjoying nature outdoor (control group) before completing measures of four mediators; outgroup trust, intergroup anxiety, internal attribution of intergroup contact, and empathy toward outgroup, as well as a self-report measure of explicit prejudice toward Cambodian as a dependent variable. A bootstrapping analysis shows that imagined intergroup contact with a Cambodian had negative indirect effects on explicit prejudice reduction via increased outgroup trust, reduced intergroup anxiety, increased internal attribution of the contact, but not increased empathy. Imagined intergroup contact has no direct effect on reduced explicit prejudice. Study 2 examined the effect of imagined intergroup contact on implicit prejudice. Sixty college students were asked to imagine themselves in either of the two scenarios as in Study 1 before completing an implicit association test of implicit prejudice toward Cambodian. Result shows that participants who imagine a positive intergroup contact with a Cambodian show lower implicit prejudice toward Cambodian than do their control counterparts. This research discovers for the first time that imagining positive intergroup contact is an effective technique for reducing both explicit and implicit prejudice among Thais.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.536-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectจิตวิทยาสังคม
dc.subjectจินตนาการ
dc.subjectทัศนคติ
dc.subjectอคติ (จิตวิทยา)
dc.subjectSocial psychology
dc.subjectImagination
dc.subjectAttitude (Psychology)
dc.subjectPrejudices
dc.titleผลของการจินตนาการถึงการปฏิสัมพันธ์กับคนนอกกลุ่มต่อเจตคติรังเกียจกลุ่ม : การศึกษาตัวแปรส่งผ่านหลายตัวen_US
dc.title.alternativeEFFECTS OF IMAGINED INTERGROUP CONTACT ON PREJUDICE: A STUDY OF MULTIPLE MEDIATORSen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineจิตวิทยาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorwatcharaporn.p@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.536-
Appears in Collections:Psy - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5477620638.pdf4.18 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.