Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44741
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัชราภรณ์ บญญศิริวัฒน์-
dc.contributor.authorศรีเรือน ศรีพัฒนกุล หาญบาง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2015-08-24T09:09:01Z-
dc.date.available2015-08-24T09:09:01Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44741-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลเชิงทำนายของการสนับสนุนทางสังคมจากผู้ร่วมงาน (workplace social support) การสนับสนุนจากครอบครัวต่องาน (family support to work) ที่มีต่อความสุขในการทำงาน (happiness at work) โดยมีความกระปรี้กระเปร่าในงาน (vigor) เป็นตัวแปรส่งผ่านในกลุ่มตัวอย่างที่เป็นพนักงานประจำบริษัทเอกชนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวน 150 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ มาตรวัดการสนับสนุนทางสังคมจากผู้ร่วมงาน (α = .85) มาตรวัดการสนับสนุนจากครอบครัวต่องาน (α = .92) มาตรวัดความสุขในการทำงาน (α = .93) และมาตรวัดความกระปรี้กระเปร่าในงาน (α = .93) ผลการวิจัยพบว่า การสนับสนุนทางสังคมจากผู้ร่วมงานเป็นตัวทำนายทางบวกของความสุขในการทำงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (ค่าประมาณขนาดอิทธิพลโดยรวม = 0.7621, p < .001) การสนับสนุนจากครอบครัวต่องานไม่เป็นตัวทำนายความสุขในการทำงาน (ค่าประมาณขนาดอิทธิพลโดยรวม = 0.0439, p = .54) ความกระปรี้กระเปร่าในงานเป็นตัวแปรส่งผ่านทางบวกของอิทธิพลเชิงทำนายของการสนับสนุนทางสังคมจากผู้ร่วมงาน ที่มีต่อความสุขในการทำงานอย่างมีนัยสำคัญ (ค่าประมาณขนาดอิทธิพลทางอ้อม = .1517, ช่วงความเชื่อมั่นที่ระดับ 95% ระหว่าง 0.0778 ถึง 0.2670) แต่ไม่มีบทบาทในการเป็นตัวแปรส่งผ่านของอิทธิพลเชิงทำนายของการสนับสนุนจากครอบครัวต่องาน ที่มีต่อความสุขในการทำงาน (ค่าประมาณขนาดอิทธิพลทางอ้อม = .0390, ช่วงความเชื่อมั่นที่ระดับ 95% อยู่ระหว่าง -0.0136 ถึง 0.1167) ผลการวิจัยนี้ชี้ให้เห็นว่าผู้ที่ได้รับการสนับสนุนทางสังคมจากผู้ร่วมงาน มักจะรายงานความสุขในการทำงานสูง โดยส่วนหนึ่งมาจากการสนับสนุนจากทางสังคมจากผู้ร่วมงานทำให้บุคคลเกิดความกระปรี้กระเปร่าในงานen_US
dc.description.abstractalternativeThe aim of this research is to study the relationships among workplace social support, family support to work, and happiness at work, and the mediating effect of vigor. The data were collected from 150 Thai employees of organizations in Bangkok and metropolitan area. Research instruments were workplace social support scale (α = .85), family support to work scale (α = .92), happiness at work scale (α = .93), and vigor scale (α = .93). Results show that workplace social support can significantly predict happiness at work (point estimate of total effect = 0.7621, p < .001). Family support to work cannot predict happiness at work (point estimate of total effect = 0.0439, p = .54). Vigor has a significant mediating effect on the relationship between workplace social support and happiness at work (point estimate of indirect effect = .1517, BC 95% CI 0.0778 to 0.2670).However, vigor has no mediating effect on the relationship between family support to work and happiness at work (point estimate of indirect effect = .0390, BC 95% CI -0.0136 to 0.1167). The results reveal that participants who perceive support from workplace reported higher happiness at work and this relationship is mediated partially by vigor. The role of vigor is discussed.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1602-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการทำงาน -- แง่จิตวิทยาen_US
dc.subjectความพึงพอใจในการทำงานen_US
dc.subjectWork -- Psychological aspectsen_US
dc.subjectJob satisfactionen_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการสนับสนุนทางสังคมจากผู้ร่วมงาน การสนับสนุนจากครอบครัวต่องาน กับความสุขในการทำงาน โดยมีความกระปรี้ประเปร่าในงานเป็นตัวแปรส่งผ่านen_US
dc.title.alternativeRelationships among workplace social support, family support to work, and happiness at work : the mediating effect of vigoren_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineจิตวิทยาประยุกต์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorwatch.boonya@gmail.com-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.1602-
Appears in Collections:Psy - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sriruan_sr.pdf2.15 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.