Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47191
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณัฐสุดา เต้พันธ์-
dc.contributor.authorธนพงศ์ อุทยารัตน์-
dc.contributor.authorภาณุ สหัสสานนท-
dc.contributor.authorพรสวรรค์ ไหลสุวรรณ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2016-02-18T03:39:59Z-
dc.date.available2016-02-18T03:39:59Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.otherPsy 145-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47191-
dc.descriptionโครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2554en_US
dc.descriptionA senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic year 2011en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาตนที่ผ่านการบ่มเพาะของนิสิตปริญญาตรีคณะจิตวิทยาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพแนวปรากฏการณ์การณ์วิทยา เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกนิสิตจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 12 ราย ทำการบันทึกเทปและถอดข้อความแบบคำต่อคำ ผลการวิจัยแสดงให้เห็นถึงตนที่ผ่านการบ่มเพาะของนิสิตจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 3 ประเด็นหลัก คือ การรับรู้ตนเอง การเติบโต และการมองภาพในอนาคต ประเด็นที่ 1 การรับรู้ตนเอง แบ่งออกเป็น 5 ด้าน คือ (1) ความเข้าใจตนเอง (2) ความเป็นตัวของตัวเอง (3) ความเข้าใจผู้อื่น (4) การมีปฏิสัมพันธ์อย่างมีความสุขกับผู้อื่น และ (5) การมีจิตวิทยาเป็นส่วนหนึ่งของตน ประเด็นที่ 2 การเติบโต แบ่งออกเป็น 4 ด้าน คือ (1) การมีศักยภาพมากขึ้น (2) การพัฒนาในการอยู่ร่วมกับผู้อื่น (3) การพึ่งพาตนเองมากขึ้น และ (4) การปรับเข้าสู่วิถีชีวิตเมือง ประเด็นที่ 3 การมองภาพในอนาคต แบ่งออกเป็น 3 ด้าน คือ (1) การรับรู้ตนเองในฐานะบัณฑิตจุฬาฯ (2) การวางแผนนำความรู้จิตวิทยาไปใช้ และ (3) ความรู้สึกไม่มั่นใจen_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this project was to study the cultivated self of Chulalongkorn University psychology undergraduate student. A qualitative research method of Phenomenology was applied as a methodology of this project. The key informants were 12 senior psychology undergraduates. Data were collected by in-depth interviews. The interview were tape-recorded and transcribed verbatim. The result of qualitative finding revealed 12 themes to explain the cultivated self of Chulalongkorn University psychology undergraduate student and they could be divided into 3 domains: perception, growth and aims. The perception domain could be put into 5 themes; (1) self-understanding (2) self-autonomy (3) understanding in others (4) healthy relationship with others and (5) having psychology in one’s part of life. In the growth domain 4 themes were emerged; (1) more potential (2) developing co-existence with others (3) self-dependence and (4) urbanization. And the aims domain including (1) self-perception as graduate student in Chulalongkorn University (2) planning to use psychology for the future and (3) feeling uncertain.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherคณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการรับรู้ตนเองen_US
dc.subjectการรับรู้ตนเองในวัยรุ่นen_US
dc.subjectจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา -- นักศึกษาen_US
dc.subjectSelf-perceptionen_US
dc.subjectSelf-perception in adolescenceen_US
dc.subjectChulalongkorn University. Faculty of Psychology -- Studentsen_US
dc.titleตนที่ผ่านการบ่มเพาะของนิสิตปริญญาตรี คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย : การศึกษาเชิงปรากฏการณ์วิทยาen_US
dc.title.alternativeThe cultivated self of Chulalongkorn University psychology undergraduate student : the phenomenological studyen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisornattasuda.t@chula.ac.th-
Appears in Collections:Psy - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
tanaphong_ut.pdf1.76 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.