Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49776
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุเนตร ชุตินธรานนท์-
dc.contributor.authorพรพิมล ตรีโชติ-
dc.contributor.authorณัฐพล ตันตระกูลทรัพย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันเอเชียศึกษา-
dc.date.accessioned2016-11-22T08:33:32Z-
dc.date.available2016-11-22T08:33:32Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49776-
dc.description.abstractงานศึกษาเรื่องบทบาทของกองทัพบกไทยกับการจัดการความมั่นคงและผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ: กรณีศึกษาพื้นที่ชายแดนไทย-พม่า ชิ้นนี้ เป็นผลสืบเนื่องจากความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วในพื้นที่ชายแดนไทย-พม่า จากพื้นที่เฝ้าระวังทางด้านความมั่นคงและการทหาร สู่การเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวทำให้เกิดการเพิ่มขึ้นของปริมาณกิจกรรมข้ามพรมแดน ซึ่งแม้จะทำให้เกิดการเติบโตของมูลค่าทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ หากแต่ก็เป็นสาเหตุอันหนึ่งที่ทำให้เกิดปัญหาความมั่นคงใหม่ตามมา เช่น ยาเสพติด แรงงานผิดกฎหมาย หรือการบุกรุกพื้นที่ป่า เป็นต้น กองทัพบกในฐานะเป็นหน่วยงานที่มีบทบาทหลักในการจัดการชายแดนจึงต้องมีการขยายบทบาทหน้าที่เพื่อจัดการกับปัญหาความมั่นคงใหม่ที่เกิดขึ้น อย่างไรก็ตาม การดำเนินงานของกองทัพที่ให้ความสำคัญกับการรักษาอธิปไตยเหนือดินแดนเป็นเรื่องหลักนั้น ไม่อาจได้รับการยอมรับจากหน่วยงานอื่น ๆ ตลอดจนประชาชนในพื้นที่เท่าที่ควร เนื่องจากภาคส่วนดังกล่าวได้ให้ความสำคัญกับการขยายตัวของกิจกรรมทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ในพื้นที่เป็นสำคัญ ตลอดจนหน่วยงานราชการอื่น ๆ ที่มีบทบาทในพื้นที่ต่างมีเป้าหมายการดำเนินงานที่แตกต่างกันทำให้การบูรณาการระหว่างหน่วยงานขาดประสิทธิภาพและไม่สามารถบรรลุผลในการควบคุมและจัดระเบียบชายแดนโดยรัฐเท่าที่ควรen_US
dc.description.abstractalternativeThe study of “The role of the royal Thai Army in Security and Economical Interest Management: A Case Study of Thailand – Myanmar Border”, were conducted due to the rapid change in Thailand-Myanmar border, which transformed from the army security area to the center of trans-border economy. The change as such created more intensive cross border activities. It boosted international economy value; by the way, it also boosted the new security problems, such as drug trafficking, illegal migrant workers and deforestation. Royal Thai Army, as the main organization who manages the border area, had to extend their role to handle with new security problem. However, the army that gave first priority in protecting sovereignty over the land is not well accepted by other organizations and local people. It’s because these groups gave first priority to economic growth rather than security and there was also inadequate integration between organizations.en_US
dc.description.sponsorshipกองทุนรัชดาภิเษกสมโภช ปี 2556en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectกองทัพบก -- ไทยen_US
dc.subjectความมั่นคงชายแดน -- ไทยen_US
dc.subjectความมั่นคงชายแดน -- พม่าen_US
dc.subjectความมั่นคงระหว่างประเทศ -- ไทยen_US
dc.subjectไทย -- ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ -- พม่าen_US
dc.subjectพม่า -- ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ -- ไทยen_US
dc.titleบทบาทของกองทัพบกไทยกับการจัดการความมั่นคงและผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ : กรณีศึกษาพื้นที่ชายแดนไทย-พม่าen_US
dc.title.alternativeThe role of the royal Thai army in security and economical interest management : a case study of Thailand-Myanmar borderen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.email.authorsunait.c@chula.ac.th-
dc.email.authorPornpimon.T@Chula.ac.th-
dc.email.authornuttapon.t@chula.ac.th-
Appears in Collections:Asia - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sunait_ch.pdf4.06 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.