Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52399
Title: AN ADOPTION OF MARPOL 73/78 FOR MANAGING SHIP-GENERATED GARBAGE IN LAEM CHABANG PORT : A CASE OF SHIPPING COLLABORATIONS
Other Titles: การรับอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการป้องกันมลพิษจากเรือเพื่อการจัดการขยะจากเรือในท่าเรือแหลมฉบัง : กรณีความร่วมมือของธุรกิจการขนส่งทางเรือ
Authors: Chalermpong Senarak
Advisors: Kamonchanok Suthiwartnarueput
Pongsa Pornchaiwiseskul
Other author: Chulalongkorn University. Graduate School
Advisor's Email: Kamonchanok.S@Chula.ac.th,kamonchanok.s@chula.ac.th
Pongsa.P@Chula.ac.th
Subjects: Harbors -- Management
Refuse and refuse disposal
ท่าเรือ -- การจัดการ
การกำจัดขยะ
ท่าเรือแหลมฉบัง
ปริญญาดุษฎีบัณฑิต
Issue Date: 2016
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Ship-generated garbage is harmful to aquatic creatures and ecosystems. To prevent the marine environment from this pollutant, the adequate provision of garbage reception facility (GRF) in seaports is critical. This study contributes the practitioner and the literature by developing collaboration concepts for managing it through four objectives: 1) to survey the levels of existing performances in providing GRF of LCP; 2) to analyze the impact of factors on the motivations of shipping companies in delivering their ship-generated garbage at the GRF of LCP; 3) to analyze the relationship of collaborations between LCP and the shipping companies and suggest how to boost up the collaborations; and 4) to analyze the benefits expected to gain from the collaborations between LCP and the shipping companies. To analyze the data, the multivariate analysis of variance was used in objective 1, 2 and 4 while the ordinal regression model was adopted in objective 3. The data was gathered through the adoption of the questionnaires which were sent to 148 shipping firms. The complete questionnaires were returned from 127 shipping firms with the response rate of 85.81%. The analysis indicates that 1) the frequency of ship berthing at LCP per year, 2) the nationality of the shipping firms and 3) the types of ships operated by the shipping firms, influence on the differences of attitude of ship operators as follow: 1) the performances in providing GRF of LCP and 2) the motivations in delivering their ship-generated garbage at the GRF of LCP. The findings enable us to identify 1) the failure of LCP in maintaining performances required by MARPOL 73/78 and 2) the deficiency in enforcing the national laws of Marine Department of Thailand. Finally, three collaboration models verified by ship operators are developed to alleviate the existing challenges and enhance the marine pollution prevention from ship-generated garbage at LCP.
Other Abstract: การทิ้งขยะจากเรือสินค้าเป็นสาเหตุของมลพิษทางทะเลที่สำคัญของโลก ดังนั้น องค์การทางทะเลระหว่างประเทศจึงได้วางหลักการให้ท่าเรือและท่าเทียบเรือต้องจัดให้มีอุปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวกให้เพียงพอต่อความต้องการในการทิ้งขยะจากเรือ โดยไม่ก่อให้เกิดความล่าช้าต่อการปฏิบัติการเรือ อย่างไรก็ตาม การปฏิบัติตามกฎหมายดังกล่าวไม่ใช่ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจทิ้งขยะที่ท่าเรือของผู้ขนส่งทางทะเลเพียงอย่างเดียว แต่ทว่ายังมีปัจจัยที่มีอิทธิพลอื่นๆ อีกเป็นจำนวนมาก ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงมุ่งเน้นการสร้างองค์ความรู้ใหม่ผ่านวัตถุประสงค์การศึกษา 4 ประการ คือ 1) เพื่อสำรวจระดับของผลการให้บริการอุปกรณ์รองรับขยะของท่าเรือแหลมฉบัง 2) เพื่อวิเคราะห์ผลกระทบของปัจจัยที่มีผลต่อการนำขยะมาทิ้งที่ท่าเรือแหลมฉบังของผู้ขนส่งทางทะเล 3) เพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของความร่วมมือระหว่างท่าเรือแหลมฉบังและผู้ขนส่งทางทะเล และเสนอแนวทางเพื่อเพิ่มความร่วมมือในการจัดการขยะจากเรือ และ 4) เพื่อวิเคราะห์ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากความร่วมมือระหว่างท่าเรือแหลมฉบังและผู้ขนส่งทางทะเล ทั้งนี้ ผู้วิจัยใช้แบบสอบถามเก็บข้อมูลจากผู้ขนส่งทางทะเล และตัวแทนสายเรือรวมทั้งสิ้น 148 บริษัท เป็นเวลานาน 6 เดือน ผลปรากฏว่า มีแบบสอบถามที่ถูกส่งกลับและสมบูรณ์ทั้งสิ้น 127 ฉบับ คิดเป็น 85.81% การวิเคราะห์ข้อมูลในวัตถุประสงค์ที่ 1, 2 และ 4 ใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนหลายตัวแปร ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลในวัตถุประสงค์ที่ 3 ใช้ตัวแบบการถดถอยเชิงอันดับ ผลจากการวิเคราะห์ พบว่า 1) ระดับของความถี่ในการใช้บริการท่าเรือแหลมฉบังของผู้ขนส่งทางทะเล 2) สัญชาติของบริษัทขนส่งทางทะเล และ 3) ประเภทของเรือของผู้ขนส่งทางทะเล นั้น มีอิทธิพลต่อความแตกต่างของทัศนคติของผู้ขนส่งทางทะเลที่มีต่อ 1) ระดับของผลการให้บริการอุปกรณ์รองรับขยะของท่าเรือแหลมฉบัง และ 2) ปัจจัยที่มีผลต่อการนำขยะมาทิ้งที่ท่าเรือแหลมฉบัง ในการนี้ ผู้ขนส่งทางทะเลประเมินว่า ท่าเรือแหลมฉบังจัดให้มีอุปกรณ์เพื่อรับรองขยะอันตรายจากเรืออย่างเพียงพอ ให้บริการตรงเวลา และมีการติดต่อเพื่อขอใช้บริการเก็บขยะที่สะดวกสบาย แต่ยังมีบางกิจกรรมที่ยังไม่สอดคล้องกับข้อกำหนดในบทบัญญัติของอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการป้องกันมลพิษจากเรือ เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาในการให้บริการเก็บขยะของท่าเรือแหลมฉบัง ยกระดับการดำเนินงานของกรมเจ้าท่าในการป้องกันมลพิษจากขยะจากเรือ และเพิ่มความร่วมมือระหว่างท่าเรือแหลมฉบังและผู้ขนส่งทางทะเล
Description: Thesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2016
Degree Name: Doctor of Philosophy
Degree Level: Doctoral Degree
Degree Discipline: Logistics Management
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52399
URI: http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.1661
metadata.dc.identifier.DOI: 10.58837/CHULA.THE.2016.1661
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5787765920.pdf9.2 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.