Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52511
Title: Evaluation of accessibility to mass transit systems in Bangkok and Manila
Other Titles: การประเมินความสามารถในการเข้าถึงระบบขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและมะนิลา
Authors: Sony Sulaksono Wibowo
Advisors: Saksith Chalermpong
Seiichi Kagaya
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Engineering
Advisor's Email: fcescp@eng.chula.ac.th
No information provided
Subjects: Local transit -- Thailand -- Bangkok
Local transit -- Phlippines -- Manila
การขนส่งมวลชน -- ไทย -- กรุงเทพฯ
การขนส่งมวลชน -- ฟิลิปปินส์ -- มะนิลา
ปริญญาดุษฎีบัณฑิต
Issue Date: 2007
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: A major problem faced by transit authorities in the urban areas like Bangkok and Manila is the failure to meet the forecasted ridership. The objective of this research is to propose policies for station accessibility improvements, which can ultimately increase the ridership. Four groups of behavioral models were developed, based on commuter travel survey data from the two cities under investigation. The first includes multinomial and nested logit models that explain the regular mode choice of those residing in transit catchment areas. The second group is similar to the first, but with station accessibility scores incorporated in order to examine the impact of station accessibility on the choice behavior. The third group is the ordered logit models, which broaden the choice behavior examined to include frequency of transit use. The last group is the binary models of access mode choice of current transit users, which can help explain what factors affect the tendency to walk as opposed to the use of motorized modes to access stations. The modeling results reveal several important findings. For example, the incorporation of station accessibility score in the model can help the evaluation of transit improvement strategies, particularly those involving accessibility and station facilities. The results also reveal that access distance and car availability have crucial influence on the tendency of regular transit use. Taken together, the results implied that within acceptable walking distance, increasing the quality of walking environment proves an important strategy that can make walking to station more attractive, thereby inducing modal shift to transit. For longer distance, improving feeder bus service is still indispensable, especially in the case of Bangkok and Manila where other access modes are very limited.
Other Abstract: ปัญหาหลักขององค์การขนส่งมวลชนในเขตเมือง เช่น กรุงเทพฯ และมะนิลา คือปริมาณผู้โดยสารที่ต่ำ กว่าระดับที่ได้คาดการณ์ไว้ วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้คือ การเสนอนโยบายพัฒนาความสามารถในการเข้าถึง ระบบขนส่งมวลชนให้มีประสิทธิภาพ เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ใช้ระบบขนส่งมวลชน โดยมีกลุ่มเป้าหมายหลักของ งานวิจัย คือผู้ที่เดินทางไปทำงาน โดยเฉพาะผู้ที่พักอาศัยอยู่ภายในพื้นที่ให้บริการของสถานีขนส่งมวลชน แบบจำลองพฤติกรรม 4 กลุ่มได้ถูกพัฒนาขึ้นในงานวิจัยนี้ โดยใช้ข้อมูลที่ได้จากการสำรวจการเดินทางของผู้ที่ เดินทางไปทำงานในทั้ง 2 เมืองที่ทำการศึกษา แบบจำลองกลุ่มที่ 1 ประกอบด้วยแบบจำลองแบบมัลติโนเมียล โลจิตและเนสเต็ดโลจิต ซึ่งสามารถอธิบายพฤติกรรมการเลือกวิธีการเดินทางที่ใช้เป็นประจำของผู้ที่พักอาศัยอยู่ ภายในพื้นที่ให้บริการของสถานีขนส่งมวลชน แบบจำลองกลุ่มที่ 2 มีลักษณะคล้ายกับกลุ่มที่ 1 แต่มีการเพิ่ม คะแนนความสามารถในการเข้าถึงสถานีขนส่งมวลชนในแบบจำลองด้วย แบบจำลองกลุ่มที่ 3 คือ แบบจำลอง ออร์เดอร์ดโลจิต ซึ่งขยายขอบเขตพฤติกรรมที่ศึกษาไปถึงความถี่ของการเดินทางโดยใช้ระบบขนส่งมวลชนของ ผู้ที่พักอาศัยอยู่ภายในพื้นที่ให้บริการของสถานี แบบจำลองกลุ่มสุดท้ายเป็นแบบจำลองไบนารีโลจิต ซึ่งอธิบาย แนวโน้มของผู้ที่ใช้ระบบขนส่งมวลชนอยู่ในปัจจุบันในการเดินทางเข้าถึงสถานีด้วยการเดินเท้าแทนที่จะเป็นใช้ วิธีการเดินทางแบบอื่นซึ่งต้องใช้เครื่องยนต์ จากการพัฒนาแบบจำลองได้ให้ผลลัพธ์ที่น่าสนใจหลายประการ ตัวอย่างเช่นการใช้คะแนนความสามารถในการเข้าถึงสถานีในแบบจำลองพฤติกรรมการเลือกวิธีการเดินทาง สามารถช่วยในการประเมินประสิทธิภาพของกลยุทธ์ที่จะใช้ในการพัฒนาระบบขนส่งมวลชนได้ โดยเฉพาะกล ยุทธ์ที่เกี่ยวกับการพัฒนาการเข้าถึงสถานีและสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ ของสถานี ผลการศึกษายังบอกให้ ทราบอีกว่า ระยะทางในการเข้าถึงสถานีและการมีรถยนต์ในครอบครองนั้นมีบทบาทอันสำคัญต่อแนวโน้มที่จะ ใช้ระบบขนส่งมวลชนเป็นประจำ จากภาพรวมของผลการวิจัย พบว่า ภายในระยะทางที่สามารถเดินเท้าได้ การ เพิ่มคุณภาพของสภาพแวดล้อมในการเดินเท้ายังคงเป็นกลยุทธ์ที่สำคัญในการเพิ่มความน่าดึงดูดใจของการเดิน เข้าสู่สถานีขนส่งมวลชน ซึ่งอาจสามารถช่วยในการเปลี่ยนรูปแบบการเดินทางจากการใช้รถยนต์มาเป็นระบบ ขนส่งมวลชนได้ สำหรับในระยะทางที่ไกลออกไปนั้น การเพิ่มระบบรถโดยสารที่ให้บริการเข้าถึงสถานียังคง เป็นกลยุทธ์ที่จำเป็น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีของกรุงเทพฯและมะนิลา ซึ่งรูปแบบการเดินทางเข้าถึงอื่นๆ ยัง ค่อนข้างจำกัดมาก
Description: Thesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2007
Degree Name: Doctor of Engineering
Degree Level: Doctoral Degree
Degree Discipline: Civil Engineering
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52511
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2007.1869
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2007.1869
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.