Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53165
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดำรงค์ ทวีแสงสกุลไทย-
dc.contributor.authorพัชราภรณ์ ผ่องแผ้ว-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2017-06-27T14:41:08Z-
dc.date.available2017-06-27T14:41:08Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53165-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์และลดของเสียในกระบวนการผลิตพูลเลย์ สำหรับชิ้นส่วนอะไหล่ยานยนต์ โดยใช้เทคนิค Process FMEA งานวิจัยเริ่มต้นด้วยการศึกษากระบวนการผลิตพูลเลย์ พร้อมทั้งดำเนินการเก็บรวบรวมและ วิเคราะห์ข้อมูลของเสียที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิต พบว่าของเสียส่วนใหญ่เกิดจากกระบวนการกลึง (ร่องสายพาน), กลึง(ดุมใน), เจาะ, รีด และอัดยาง โดยของเสียที่เกิดขึ้น ได้แก่ ไม่ได้ขนาด, ยางมีโพรง อากาศ, รูตาปเอียง และผิวไม่เรียบ ต่อมาทำการค้นหาและจัดกลุ่มของสาเหตุโดยใช้วิธีการระดมสมอง ร่วมกับผังก้างปลา หลังจากนั้นกลุ่มผู้ชำนาญการที่เกี่ยวข้องได้วิเคราะห์ข้อมูลดังกล่าวโดยใช้เทคนิค Process FMEA และประเมินค่าความรุนแรงของข้อบกพร่อง ค่าโอกาสการเกิดข้อบกพร่อง และค่าโอกาส การตรวจพบข้อบกพร่องในกระบวนการผลิต เพื่อคำนวณค่าดัชนีความเสี่ยงชี้นำ(RPN) งานวิจัยฉบับนี้ได้ เลือกแก้ไขลักษณะข้อบกพร่องที่มีค่าดัชนีความเสี่ยงชี้นำมากกว่า 100 ขึ้นมากำหนดมาตรการแก้ไข ผลประโยชน์ที่เห็นได้ชัดจากการดำเนินการแก้ไข คือ มีการควบคุมสาเหตุต่างๆที่มีผลกระทบต่อ ข้อบกพร่องด้านคุณภาพมิให้เกิดซ้ำอีก หลังการดำเนินการแก้ไขโดยใช้ Process FMEA แก้ไข 2 ครั้ง สามารถสรุปได้ว่า กระบวนการกลึง(ร่องสายพาน) เปอร์เซ็นต์ของเสียลดลง 66.37% กระบวนการกลึง(ดุมใน) เปอร์เซ็นต์ของเสียลดลง 66.18% กระบวนการเจาะ เปอร์เซ็นต์ของเสียลดลง 71.65% กระบวนการรีด เปอร์เซ็นต์ของเสียลดลง 74.71% กระบวนการอัดยาง เปอร์เซ็นต์ของเสียลดลง 83.03%en_US
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this thesis are to analyze and reduce defect in Pulley process for automotive replacement parts by using Process Failure Mode and Effect Analysis; Process FMEA. The research is started from studying the Pulley process, collecting and analyzing data of defect parts in the Pulley process. The most of defects occur from Turning(Washer), Turning(Hub), Drilling, Rolling and Compressing Moulding process which defects can be separated into the following category: Size, Air Gap, Slope, and Roughness. Finding out its causes can be done by using Brainstorming together with Cause and Effect Diagram. After that, the specialist apply Process FMEA technique to analyze the abovementioned information and evaluate the severity, occurrence and detection of each defect for calculating Rick Priority Number(RPN). Defects which RPN are higher than 100 was chosen for corrective action. The other advantage is that there is a good cause of defect control which will not effect or damage to product’s quality for the next production. After the solution by using Process FMEA technique. It can be concluded as the followings : the percentage of defects for Washer Turning process decreases 66.37%. Hub Turning process decreases 66.18%. Drilling process decreases 71.65%. Rolling process decreases 74.71%. Compressing Moulding process decreases 83.03%.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2007.18-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectพูลเลย์en_US
dc.subjectการควบคุมกระบวนการผลิตen_US
dc.subjectการลดปริมาณของเสียen_US
dc.subjectPulleyen_US
dc.subjectProcess controlen_US
dc.subjectWaste minimizationen_US
dc.titleการลดของเสียในกระบวนการผลิตพูลเลย์ สำหรับชิ้นส่วนอะไหล่ยานยนต์en_US
dc.title.alternativeDefect reduction in pulley process for automotive replacement parten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisordamrong.t@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2007.18-
Appears in Collections:Eng - Theses



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.