Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/54931
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorUraiwan Chokechanachaisakul-
dc.contributor.authorSutt Pansawangwong-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Dentistry-
dc.date.accessioned2017-10-30T04:21:14Z-
dc.date.available2017-10-30T04:21:14Z-
dc.date.issued2016-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/54931-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2016-
dc.description.abstractIntroduction: Several studies have recommended the use of EDTA as a final flush before root canal obturation, but the optimal irrigating time remains unverified. The aim of the study was to determine how the duration of EDTA irrigation affects microtensile bond strength. Materials and methods: The 160 extracted human premolars were decoronated and embedded in resin block. Root canals were prepared by using the rotary files (Protaper Universal) and distilled water irrigation, and irrigated with 5% NaOCl. In Group 1, this was followed by irrigation with distilled water, while in Groups 2–5, this was followed by irrigation with 17% EDTA for 1, 3, 5, and 10 min, followed by distilled water. Two specimens of each group were used for scanning electron microscopic (SEM) observation. The remaining specimens were divided into 2 groups—AH Plus and MetaSEAL (n = 15 each). The specimens were prepared for microtensile tests. The failure mode was identified, and the bond strength value was analyzed using one-way ANOVA and Tukey’s HSD post-hoc test. Results: The 10-min EDTA-treated specimens (Group 5) showed greater microtensile bond strength than non-EDTA-treated specimens (Group 1) (p < 0.001) in MetaSEAL group. Mixed failure accounted for the majority of failures in all groups. In SEM, the NaOCl group showed a smear layer covering the dentin surface, but the EDTA groups showed an absence of smear layer and various depths of demineralized dentin and exposed collagen. Conclusions: The duration of EDTA irrigation affected on the microtensile bond strength of the methacrylate resin sealer and root dentin.-
dc.description.abstractalternativeบทนำ: มีหลายการศึกษาแนะนำให้ล้างด้วยสารละลายกรดเอทิลีนไดเอมีนเตตระอะซิติก (อีดีทีเอ) และตามด้วยสารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรท์ก่อนทำการอุดคลองรากฟันแต่อย่างไรก็ตามไม่มีการศึกษาใดที่กล่าวถึงระยะเวลาที่เหมาะสมในการล้างด้วยอีดีทีเอ ดังนั้นวิทยานิพนธ์ฉบับนี้จัดทำเพื่อรายงานผลการศึกษาและเปรียบเทียบการล้างด้วยอีดีทีเอที่ระยะเวลาต่างกันต่อกำลังแรงยึดแบบดึงระดับจุลภาคของเรซินซีลเลอร์กับเนื้อฟันในคลองรากฟัน วิธีดำเนินการวิจัย: นำฟันกรามน้อยบนรากเดี่ยวมนุษย์จำนวน 160 ซี่มาตัดส่วนตัวฟันออกและฝังลงในเรซิน ทำการเตรียมคลองรากฟันด้วยไฟล์ที่หมุนด้วยเครื่อง (Protaper Universal) ประกอบกับการล้างคลองรากฟันด้วยน้ำกลั่น นำคลองรากฟันที่ผ่านการเตรียมมาล้างด้วยสารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรท์ 5 เปอร์เซ็นต์ ทำการแบ่งออกเป็น 5 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ล้างด้วยน้ำกลั่น ในขณะที่กลุ่มที่ 2 ถึง 5 ล้างด้วยอีดีทีเอ 17 เปอร์เซ็นต์เป็นระยะเวลา 1, 3, 5 และ 10 นาทีตามลำดับ จากนั้นตามด้วยล้างน้ำกลั่น นำคลองรากฟันที่ผ่านการเตรียมพื้นผิวแล้ว 2 คลองรากต่อกลุ่มมาตรวจดูพื้นผิวด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด นำรากฟันส่วนที่เหลือในแต่ละกลุ่มมาแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มตามชนิดของซีลเลอร์ที่ใช้อุดคลองรากฟัน ได้แก่ เอเอชพลัสและเมทาซีล (n=15) หลังจากอุดคลองรากฟันทำการตัดเตรียมชิ้นงานแบบแท่งสำหรับการทดสอบกำลังแรงยึดด้วยแรงดึงระดับจุลภาค ทำการใส่แรงดึงจนกระทั่งเกิดการหลุดของชิ้นงานออกจากกัน วิเคราะห์รูปแบบความล้มเหลวของชิ้นงานและนำค่ากำลังแรงยึดที่ได้มาวิเคราะห์ทางสถิติด้วยการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียวและวิธีการของทูกีย์ ผลการทดลอง: ในกลุ่มเมทาซีล กลุ่มตัวอย่างที่ถูกเตรียมพื้นผิวด้วยอีดีทีเอเป็นเวลา 10 นาที (กลุ่มที่ 5) ให้ค่ากำลังแรงยึดที่สูงกว่ากลุ่มตัวอย่างที่ไม่ใช้อีดีทีเอ (กลุ่มที่ 1) (p<0.001) พบความล้มเหลวแบบผสมเป็นส่วนมากในทุกกลุ่ม จากผลการตรวจดูพื้นผิวด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราดพบว่ากลุ่มที่ล้างด้วยสารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรท์พบชั้นเสมียร์ปกคลุมพื้นผิวเนื้อฟันส่วนกลุ่มที่ล้างด้วยอีดีทีเอตั้งแต่ 1 ถึง 10 นาทีไม่พบชั้นเสมียร์หลงเหลืออยู่และมีการสูญเสียแร่ธาตุของเนื้อฟันที่ระดับความลึกต่างๆกันและมีการเผยผึ่งของคอลลาเจน สรุปผลการวิจัย: ระยะเวลาในการล้างอีดีทีเอมีผลต่อกำลังแรงยึดแบบดึงระดับจุลภาคของเมทาไครเลตเรซินซีลเลอร์ (เมทาซีล) ต่อเนื้อฟันในคลองรากฟัน-
dc.language.isoen-
dc.publisherChulalongkorn University-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.1521-
dc.rightsChulalongkorn University-
dc.titleTHE EFFECT OF EDTA IRRIGATION TIME ON THE MICROTENSILE BOND STRENGTH OF RESIN SEALERS AND ROOT CANAL DENTIN-
dc.title.alternativeผลของระยะเวลาการล้างด้วยสารละลายกรดเอทิลีนไดเอมีนเตตระอะซิติกต่อกำลังแรงยึดแบบดึงระดับจุลภาคของเรซินซีลเลอร์กับเนื้อฟันในคลองรากฟัน-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameMaster of Science-
dc.degree.levelMaster's Degree-
dc.degree.disciplineEndodontology-
dc.degree.grantorChulalongkorn University-
dc.email.advisorUraiwan.Ch@Chula.ac.th,uraiwan.c@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2016.1521-
Appears in Collections:Dent - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5675822932.pdf3.49 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.