Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56525
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorWanchai Rivepiboon-
dc.contributor.authorJutapuck Pugsee-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Engineering-
dc.date.accessioned2017-12-14T04:10:54Z-
dc.date.available2017-12-14T04:10:54Z-
dc.date.issued2008-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56525-
dc.descriptionThesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2008en_US
dc.description.abstractAnalysis of Thai serial verbs is a difficult problem because there are many types of serial verb constructions (SVCs) and they can occur in various syntactic patterns, e.g. verb-object, verb-adverb, verb-preposition. To understand the meaning of a sentence containing SVCs, the syntax and semantic of SVCs must be resolved first. Therefore, the research proposes the semantic analysis framework concerning two consecutive Thai serial verbs. This framework analyzes the syntactic patterns and related words of SVCs to find useful information for semantic analysis. The main processes of this framework are separated into two parts. The first part is syntactic analysis using Thai phrase structure grammars, and the second part is semantic analysis using the relation analysis theorems. The result shows that this technique can analyze the semantic binding patterns of SVCs by considering syntactic patterns and relations of related words. Furthermore, the semantic interpretations of SVCs can be determined by syntactic patterns, related words and the first verb of consecutive SVCsen_US
dc.description.abstractalternativeการวิเคราะห์คำกริยาเรียงภาษาไทยเป็นปัญหาที่ยุ่งยากเนื่องจากคำกริยาเรียงมีหลาย ประเภทและปรากฏในโครงสร้างวากยสัมพันธ์ที่หลากหลาย เช่น กริยา-กรรม กริยา-กริยาวิเศษณ์ กริยา-บุพบท เป็นต้น การที่จะเข้าใจความหมายของประโยคที่มีกริยาเรียงได้ จำเป็นต้องวิเคราะห์ โครงสร้างวากยสัมพันธ์และความหมายของกริยาเรียงให้ได้ก่อน ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงนำเสนอกรอบ งานวิเคราะห์ความหมายของคำกริยาเรียงสองตัวแบบติดกันในภาษาไทย โดยวิเคราะห์รูปแบบ วากยสัมพันธ์และคำที่มีความสัมพันธ์กับคำกริยาเรียงนั้น เพื่อที่จะหาข้อมูลที่เป็นประโยชน์ สำหรับการวิเคราะห์ความหมาย ขั้นตอนหลักของกรอบงานจะแบ่งออกเป็น 2 ส่วนที่สำคัญ คือ การวิเคราะห์วากยสัมพันธ์โดยใช้ไวยากรณ์แบบโครงสร้างวลีภาษาไทย และการวิเคราะห์ ความหมายโดยใช้ทฤษฎีวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ผลลัพธ์ที่ได้แสดงให้เห็นว่า เทคนิคนี้สามารถวิเคราะห์รูปแบบความสัมพันธ์ด้าน ความหมายของคำกริยาเรียง โดยการพิจารณารูปแบบวากยสัมพันธ์ และความสัมพันธ์ของคำที่ เกี่ยวข้องกับคำกริยาเรียงนั้น นอกเหนือจากนั้นการตีความหมายของคำกริยาเรียงสามารถตัดสิน ได้จาก การพิจารณารูปแบบวากยสัมพันธ์ของคำกริยาเรียง คำที่มีความสัมพันธ์กับคำกริยาเรียง และคำกริยาตัวแรกในกริยาเรียงนั้นen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.1593-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectThai language -- Verben_US
dc.subjectThai language -- Semanticsen_US
dc.subjectComputational linguisticsen_US
dc.subjectภาษาไทย -- คำกริยาen_US
dc.subjectภาษาไทย -- อรรถศาสตร์en_US
dc.subjectภาษาศาสตร์คอมพิวเตอร์en_US
dc.subjectปริญญาดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.titleA semantic analysis framework of two consecutive Thai serial verbsen_US
dc.title.alternativeกรอบงานวิเคราะห์ความหมายของคำกริยาเรียงสองตัวแบบติดกันในภาษาไทยen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameDoctor of Engineeringen_US
dc.degree.levelDoctoral Degreeen_US
dc.degree.disciplineComputer Engineeringen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorNo information provided-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.1593-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jutapuck Pugsee.pdf1.17 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.