Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56677
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปรมะ สตะเวทิน-
dc.contributor.authorเบญญาดา ศัลยพงษ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-01-03T06:56:26Z-
dc.date.available2018-01-03T06:56:26Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56677-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางประชากร การเปิดรับข่าวสาร ความรู้ ทัศนคติ และการยอมรับกฎหมายห้ามสูบบุหรี่ในสถานที่เที่ยวกลางคืนของนักเที่ยว และศึกษาตัวแปรที่สามารถอธิบายการยอมรับกฎหมายห้ามสูบบุหรี่ในสถานที่เที่ยวกลางคืนได้ดีที่สุด กลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงร้อยละ, ค่าเฉลี่ย, t-test, One-way ANOVA, ค่าประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์ความถดถอยพหุคูณ ประมวลข้อมูลโดยใช้โปรแกรม SPSS ผลการวิจัยพบว่า 1.นักเที่ยวที่มีระดับการศึกษาแตกต่างกัน มีการเปิดรับข่าวสารเกี่ยวกับกฎหมายห้ามสูบบุหรี่ในสถานที่เที่ยวกลางคืนแตกต่างกัน 2.นักเที่ยวที่มีระดับการศึกษา อาชีพ และระดับรายได้แตกต่างกัน มีความรู้เกี่ยวกับกฎหมายห้ามสูบบุหรี่ในสถานที่เที่ยวกลางคืนแตกต่างกัน 3.นักเที่ยวที่มีอาชีพ และระดับรายได้แตกต่างกัน มีทัศนคติต่อกฎหมายห้ามสูบบุหรี่ในสถานที่เที่ยวกลางคืนแตกต่างกัน 4.นักเที่ยวที่มีระดับการศึกษา อาชีพ และพฤติกรรมการสูบบุหรี่แตกต่างกัน มีการยอมรับกฎหมายห้ามสูบบุหรี่ในสถานที่เที่ยวกลางคืนแตกต่างกัน 5.การเปิดรับข่าวสารเกี่ยวกับกฎหมายห้ามสูบบุหรี่ในสถานที่เที่ยวกลางคืน มีความสัมพันธ์เชิงลบ กับความรู้เกี่ยวกับกฎหมายห้ามสูบบุหรี่ในสถานที่เที่ยวกลางคืน 6.การเปิดรับข่าวสารเกี่ยวกับกฎหมายห้ามสูบบุหรี่ในสถานที่เที่ยวกลางคืน มีความสัมพันธ์เชิงลบ กับทัศนคติต่อกฎหมายห้ามสูบบุหรี่ในสถานที่เที่ยวกลางคืน 7.การเปิดรับข่าวสารเกี่ยวกับกฎหมายห้ามสูบบุหรี่ในสถานที่เที่ยวกลางคืน มีความสัมพันธ์เชิงบวก กับการยอมรับกฎหมายห้ามสูบบุหรี่ในสถานที่เที่ยวกลางคืน 8.ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายห้ามสูบบุหรี่ในสถานที่เที่ยวกลางคืน มีความสัมพันธ์เชิงบวก กับทัศนคติต่อกฎหมายห้ามสูบบุหรี่ในสถานที่เที่ยวกลางคืน 9.ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายห้ามสูบบุหรี่ในสถานที่เที่ยวกลางคืน มีความสัมพันธ์เชิงลบ กับการยอมรับกฎหมายห้ามสูบบุหรี่ในสถานที่เที่ยวกลางคืน 10.ทัศนคติต่อกฎหมายห้ามสูบบุหรี่ในสถานที่เที่ยวกลางคืน มีความสัมพันธ์เชิงบวก กับการยอมรับกฎหมายห้ามสูบบุหรี่ในสถานที่เที่ยวกลางคืน 11.ตัวแปรที่สามารถอธิบายการยอมรับกฎหมายห้ามสูบบุหรี่ในสถานที่เที่ยวกลางคืนของนักเที่ยวได้ดีที่สุด คือ ทัศนคติen_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to examine the correlations among information exposure, knowledge, attitude and the acceptance of smoking legislation of those who at nighttime entertainment venues. The variable that best explained the acceptance of smoking legislation was also examined. Questionnaires were used to collect the data from a total of 400 samples. Percentage, mean, t-test, One-way ANOVA, Pearson’s product moment correlation coefficient and multiple regressions were employed for the analysis of the data. SPSS program was used for data processing. The results of this research were as follows: 1. Those different in level of education were exposed to information about smoking legislation differently. 2. Those different in level of education, occupation and income were different in knowledge of smoking legislation. 3. Those different in occupation and income were different in attitude toward smoking legislation. 4. Those different in level of education, occupation and smoking behavior were different in the acceptance of smoking legislation. 5. Media exposure negatively correlated with knowledge of smoking legislation. 6. Media exposure negatively correlated with attitude toward smoking legislation. 7. Media exposure positively correlated with the acceptance of smoking legislation. 8. Knowledge positively correlated with attitude toward smoking legislation. 9. Knowledge negatively correlated with the acceptance of smoking legislation. 10. Attitude positively correlated with the acceptance of smoking legislation. 11. Attitude was the variable that best explained the acceptance of smoking legislation.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.842-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการสูบบุหรี่ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับen_US
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภคen_US
dc.subjectพฤติกรรมข่าวสารen_US
dc.subjectSmoking -- Law and legislationen_US
dc.subjectConsumer behavioren_US
dc.subjectInformation behavioren_US
dc.titleการเปิดรับข่าวสาร ความรู้ ทัศนคติ และการยอมรับกฎหมายห้ามสูบบุหรี่ในสถานที่เที่ยวกลางคืนของนักเทียวen_US
dc.title.alternativeMedia exposure, knowledge, attitude and acceptance of smoking legislation of those who frequent at nighttime entertainment venuesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตรพัฒนาการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorNo information provided-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.842-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
เบญญาดา ศัลยพงษ์.pdf1.43 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.