Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/57030
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชนิตา รักษ์พลเมือง-
dc.contributor.advisorภัททิยา ยิมเรวัต-
dc.contributor.authorชิตชยางค์ ยมาภัย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.coverage.spatialเชียงใหม่-
dc.date.accessioned2018-02-15T09:57:21Z-
dc.date.available2018-02-15T09:57:21Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/57030-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพซึ่งศึกษากระบวนการทางการศึกษาและการพัฒนาของชาวไทย ภูเขากลุ่มละว้าและกะเหรี่ยง ตำบลปางหินฝน อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์ปฏิสัมพันธ์ด้านการพัฒนาระหว่างผู้กระทำต่างๆ กับชาวไทยภูเขา 2) วิเคระห์กระบวนการ ทางการศึกษาในการสื่อความหมายของคำว่า "การพัฒนา" และ 3) นำเสนอยุทธศาสตร์การใช้การศึกษา เพื่อเป็นเครื่องมือในการพัฒนาในระดับพื้นที่ ผู้วิจัยใช้ทฤษฎีปฏิสัมพันธ์สัญลักษณ์เป็นกรอบในการ วิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า ครูและนักพัฒนาใช้ความหมายการพัฒนาของรัฐซึ่งเน้นการทำให้ ชาวไทยภูเขาสามารถสื่อสารด้วยภาษาไทย มีความเป็นพลเมืองไทย มีพฤติกรรมอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติ ในขณะที่ชาวไทยภูเขาให้ความหมายการพัฒนาเป็นการช่วยกันทำงานและปรับปรุงสภาพ ความเป็นอยู่ให้ดีขึ้น กระบวนการทางการศึกษาในการถ่ายทอดความหมายของคำว่า "การพัฒนา" ที่ใช้ในระบบโรงเรียน พบว่า ครูมีอำนาจเต็มในการควบคุมจัดการเรียนการสอน และมีการแบ่งแยก ชัดเจนระหว่างความรู้ทางการกับความรู้ท้องถิ่น ส่วนการศึกษานอกระบบโรงเรียน พบว่า ผู้สอนและ นักพัฒนามีการผสมผสานความรู้ทางการกับความรู้ท้องถิ่น สำหรับการศึกษาตามอัธยาศัย ส่วนใหญ่ เป็นการถ่ายทอดความรู้ของท้องถิ่นกับการดำเนินการชีวิตประจำวัน การรับรู้ความหมายด้านการ พัฒนาช่วยให้ชาวไทยภูเขาสามารถยกระดับสถานะทางเศรษฐกิจสังคม และทำให้นักเรียน ชาวไทยภูเขา สามารถกลมกลืนเข้ากับสังคมไทยได้ดีขึ้น แต่ก็อาจทำให้แปลกแยกจากเอกลักษณ์ของชาติพันธุ์ ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาจึงควรเน้นการทำให้ชาวเขามีความเป็นพหุเอกลักษณ์เพื่อ ที่จะได้อยูร่วมกับคนในสังคมไทยโดยไม่แปลกแยกจากกลุ่มชาติพันธุ์ของตนเองen_US
dc.description.abstractalternativeThis qualitative research was conducted to study the education and development process of Lawa and Karen in Tambon Panghinfon, Amphoe Mae Chaem, Chiang Mai Province. The objectives were 1) to analyze the interactions in development among various actors and the hill tribes, 2) to analyze the educational process in transmitting the meaning of 'development', and 3) to propose the education strategy as a development tool at the local level. Symbolic Interactionism was employed in data analysis. The research found that both teachers and development workers used official meaning of development which emphasized ability to communicate in Thai, being a Thai citizen, and having the behavior related to conservation of natural resources while the hill tribes perceived development as helping each other work and improve their living conditions. The meaning of 'development' was transmitted in schools by the teachers who had full control over pedagogical practices; and, there was a clear separation between offcial and local knowledge. The non-formal education instructors and development workers would integrate official and local knowledge while knowledge about everyday life was mainly transmitted in the informal education. Recorgnizing the meaning of development would enable the hill tribes to upgrade their socio-economic status. Also, it would enable their children to live along with the Thai society but they might be alienated from their own ethnic groups. Education strategy should aim multi-identity of the hill tribes so that they would be able to live in harmony with the Thai and not alienated from their ethnic identities.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.2012-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectชาวเขา -- ไทย -- เชียงใหม่en_US
dc.subjectการสื่อทางภาษาพูดen_US
dc.subjectการศึกษา -- การพัฒนาen_US
dc.subjectHill tribes -- Thailand -- Chiang Maien_US
dc.subjectOral communicationen_US
dc.subjectEducation administrationen_US
dc.subjectปริญญาดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.titleยุทธศาสตร์การศึกษาเพื่อการพัฒนาชาวไทยภูเขาตามแนวทฤษฎีปฏิสัมพันธ์สัญลักษณ์en_US
dc.title.alternativeEducation strategy for Thai hill tribe development based on symbolic interactionismen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาเอกen_US
dc.degree.disciplineพัฒนศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorchanita.r@chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.2012-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
jitjayang_ya_front.pdf1.05 MBAdobe PDFView/Open
jitjayang_ya_ch1.pdf1.52 MBAdobe PDFView/Open
jitjayang_ya_ch2.pdf5.76 MBAdobe PDFView/Open
jitjayang_ya_ch3.pdf816.82 kBAdobe PDFView/Open
jitjayang_ya_ch4.pdf4.8 MBAdobe PDFView/Open
jitjayang_ya_ch5.pdf2.49 MBAdobe PDFView/Open
jitjayang_ya_ch6.pdf3.17 MBAdobe PDFView/Open
jitjayang_ya_ch7.pdf1.16 MBAdobe PDFView/Open
jitjayang_ya_ch8.pdf1.41 MBAdobe PDFView/Open
jitjayang_ya_back.pdf2.04 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.