Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58459
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปาริชาต สถาปิตานนท์-
dc.contributor.authorอริสสา สชิวิลเลอร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-04-11T01:43:54Z-
dc.date.available2018-04-11T01:43:54Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58459-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษากระบวนการสื่อสารรณรงค์เรื่องการรับบริจาคสเต็มเซลล์ในประเทศไทยในบริบทของสังคมสารสนเทศ และ (2) ศึกษาบทบาทของสภากาชาดไทยในการสื่อสารเพื่อประสานความร่วมมือกับภาคีพันธมิตรในประเทศและต่างประเทศเพื่อสนับสนุนการบริจาคสเต็มเซลล์ในกรณีแคมเปญ “Match4Lara” โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ มีแนวทางการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ การใช้เทคนิคการสัมภาษณ์เชิงลึก พร้อมทั้งการวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารออนไลน์ที่สามารถเข้าถึงได้ในปัจจุบัน ผลการวิจัย พบว่า 1. ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย เป็นหน่วยงานหลักในการสื่อสารรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ โดยกระบวนการสื่อสารรณรงค์เรื่องการรับบริจาคสเต็มเซลล์ แบ่งออกได้เป็น 3 ลักษณะ คือ (1) การสื่อสารโดยตรงกับกลุ่มเป้าหมาย (2) การรณรงค์ผ่านสื่อสารมวลชน และ (3) การสื่อสารผ่านสื่อที่ผลิตเอง เพื่อกระจายไปยังกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ในการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ตอบปัญหาข้อสงสัย และสร้างความเข้าใจในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการรณรงค์บริจาคสเต็มเซลล์ในบริบทสังคมสารสนเทศ 2. บทบาทของสภากาชาดไทยในการประสานความร่วมมือในกรณีแคมเปญ “Match4Lara” พบว่า ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย ได้รับมอบหมายให้เป็นหน่วยงานหลักในการประสานความร่วมมือ โดย (1) เพื่อช่วยเหลือในการหาสเต็มเซลล์ให้กับลาร่า (2) เป็นองค์กรที่มีบทบาทในการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ในประเทศไทยเพื่อให้ประชาชนหันมาให้ความสำคัญในเรื่องของสเต็มเซลล์ โดยมีการสื่อสารโดยตรงกับกลุ่มเป้าหมาย การสื่อสารผ่านสื่อที่ผลิตเอง และการรณรงค์ผ่านสื่อหลักในประเทศไทยที่ทำให้เกิดกระแสในแคมเปญ และ (3) การประสานความร่วมมือกับภาคีพันธมิตรในต่างประเทศ เพื่อเพิ่มโอกาสในการค้นหาสเต็มเซลล์-
dc.description.abstractalternativeThe research aims to study (1) the communication process for Stem Cell donation in Thailand within the information society context and (2) the role of Thai Red Cross Society as a communication liaison for both Thailand and International countries, to help promote Stem Cell donation for the “Match4Lara” campaign. This is a qualitative research and a multi-methodology was applied in order to identify the case studies, by conducting in-depth interviews and the online documental analysis that can be access presently. Research results indicate that: 1. of the Thai Red Cross Society take part as main departments to help promote the campaign by (1) face-to–face communication (2) mass media and (3) owned media which leads to a better knowledge and understanding on Stem Cell donation campaign in information society. 2. For “Match4Lara Campaign”, the Thai Red Cross Society leads an important role in order to (1) find Stem Cell for Lara Casalotti, (2) take part as a main organization to drive the campaign in Thailand by communicating/encouraging donors (target) to engage, set an owned media in conjunction with mass media and (3) collaborate with partners overseas.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.414-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.titleกระบวนการสื่อสารเพื่อการรณรงค์บริจาคสเต็มเซลล์ของสภากาชาดไทย-
dc.title.alternativeCOMMUNICATION PROCESS FOR STEM CELL DONATION OF THAI RED CROSS SOCIETY-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตร์-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorParichart.S@Chula.ac.th,sparicha@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2016.414-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5884671028.pdf4.32 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.