Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58854
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสมบูรณ์ ธนาศุภวัฒน์-
dc.contributor.authorคณิต สุวรรณบริรักษ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเภสัชศาสตร์-
dc.coverage.spatialระยอง-
dc.date.accessioned2018-05-23T09:12:57Z-
dc.date.available2018-05-23T09:12:57Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58854-
dc.descriptionการสกัดสารสกัดหยาบจากน้ำหมัก -- ตรวจสอบองค์ประกอบทางเคมีเบื้องต้น -- การทดสอบฤทธิ์ต้านจุลชีพของสารสกัดหยาบ -- การพิสูจน์เอกลักษณ์ของแบคทีเรียแอคติโนมัยสีท -- ผลการแยกแบคทีเรียแอคติโนมัยสีทจากตัวอย่างดินป่าพรุ -- ผลการพิสูจน์เอกลักษณ์ของแบคทีเรียแอคติโนมัยสีท -- ผลการคัดเลือกแบคทีเรียแอคติโนมัยสีทที่มีฤทธิ์ต้านจุลชีพ -- ผลการศึกษาแอคติโนมัยสีทสปีซีส์ใหม่en_US
dc.description.abstractการศึกษาอนุกรมวิธานของแอคติโนมัยสีททั้งหมด 77 ไอโซเลตที่คัดแยกได้จากตัวอย่างดินป่าพรุ่ในจังหวัดระยองจำนวน 16 ตัวอย่าง พบว่าแอคติโนมัยสีทที่คัดแยกได้มีลักษณะทางสัณฐานวิทยาแตกต่างกัน ซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็น 9 สกุล คือ สกุล Streptomyces 35 ไอโซเลต สกุล Micromonospora 3 ไอโซเลต สกุล Microbispora 9 ไอโซเลต สกุล Microtetraspora 6 ไอโซเลต สกุล Actinomadura 2 ไอโซเลต สกุล Nocardia 4 ไอโซเลต สกุล Actinoallomurus 1 ไอโซเลต สกุล Dactylosporangium 3 ไอโซเลต Nonomuraea 1 ไอโซเลต และเป็นแอคติโนมัยสีทที่ไม่สามารถจำแนกได้อีกจำนวน 13 ไอโซเลต จากการศึกษาลำดับเบสในช่วง16S rRNA gene ของตัวแทนไอโซเลตในแต่ละสกุล พบว่าแอคติโนมัยสีทไอโซเลต RY35-23 และ RY35-68 เป็นแอคติโนมัยสีทสปีชีส์ใหม่ ซึ่งมีค่าความคล้ายคลึงของลำดับเบสในช่วง16S rRNA gene เป็น 98.94 และ 97.5 % เมื่อเทียบกับสายพันธุ์มาตรฐาน จึงได้เสนอตั้งชื่อว่า Dactylosporangium sucinum RY35-23T และ Actinomadura rayongensis RY35-68T ตามลำดับ จากการศึกษาฤทธิ์ต้านจุลชีพของแอคติโนมัยสีทที่แยกได้ พบว่ามีแอคติโนมัยสีทจำนวน 41 ไอโซเลตแสดงฤทธิ์ยับยั้งจุลชีพที่นำมาทดสอบ โดยแอคติโนมัยสีทส่วนใหญ่ที่แสดงฤทธิ์ยับยั้งจุลชีพเป็นสกุล Streptomyces จานวน 25 ไอโซเลต สกุล Micromonospora 1 ไอโซเลต สกุล Microtetraspora 1 ไอโซเลต สกุล Microbispora 1 ไอโซเลต สกุล Dactylosporangium 2 ไอโซเลต สกุล Actinoallomurus 1 ไอโซเลต และ Unknown species 5 ไอโซเลต จากการศึกษา สารสกัดหยาบของไอโซเลต RCU-197 ซึ่งแสดงฤทธิ์ยับยั้งแบคทีเรียแกรมบวกดีที่สุด โดยการแยกองค์ประกอบด้วยวิธีทางโครมาโทกราฟีและวิเคราะห์โดยเทคนิค liquid chromatography mass spectrometry พบว่าสารที่มีฤทธิ์ยับยั้งแบคทีเรียแกรมบวกคือ Actinomycin D และจากการศึกษา 16S rRNA gene ของไอโซเลต RCU-197 พบว่ามีความเป็นไปได้ที่จะเป็นแอคติโนมัยสีทสปีชีส์ใหม่ที่จำเป็นต้องศึกษาเพิ่มเติมอีกen_US
dc.description.abstractalternativeA taxonomic study on 77 actinomycete isolates from 16 peat swamp forest soils samples collected in Rayong Province was carried out. The actinomycete isolates were divided in 9 genera including Streptomyces (35 isolates), Micromonospora (3 isolates), Microbispora (9 isolates), Microtetraspora (6 isolates), Actinomadura (2 isolates), Nocardia (4 isolates), Actinoallomurus (1 isolate), Dactylosporangium (3 isolates) and unknown species (13 isolates) based on their morphology. On the basis of 16S rRNA gene sequence analyses for the representative isolates and the polyphasic approach, the novel species, isolate RY35-23 and RY35-68 were closely related to the type strains with 98.94 and 97.5 % 16S rRNA gene sequence similarity. The name Dactylosporangium sucinum and Actinomadura rayongensis were proposed for them, respectively. In the screening of antimicrobial activities of the isolated actinomycetes 41 isolates in genera Streptomyces (25 isolates), Micromonospora (1 isolate), Microtetraspora (1 isolate), Microbispora (1 isolate), Dactylosporangium (2 isolates), Actinoallomurus (1 isolate) and unknown species (5 isolates) showed antimicrobial activities against tested microorganisms. Chromatographic and liquid chromatography/mass spectrometry revealed that isolate RCU-197 produced actinomycin D as the active compound against Gram-positive bacteria. Based on 16S rRNA gene sequence analyses, isolate RCU-197 showed the characteristics of the novel actinomycete species that it is required for further study.en_US
dc.description.sponsorshipงานวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนรัชดาภิเษกสมโภช จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำปี 2555-2556en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectแอคติโนแบคทีเรีย -- การจำแนกen_US
dc.subjectสารต้านการติดเชื้อen_US
dc.titleอนุกรมวิธานและฤทธิ์ต้านจุลชีพของแอคติโนมัยสีทจากดินป่าพรุในจังหวัดระยอง : รายงานผลการวิจัยen_US
dc.title.alternativeTaxonomy and antimicrobial activity of actinomycetes from peat swamp forest soil in Rayong provinceen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.email.authorSomboon.T@Chula.ac.th-
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Pharm - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
b21471307_Somboon Ta.pdf2.04 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.