Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5900
Title: บัลลาสต์อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถปรับแสงหลอดฟลูออเรสเซนต์ได้
Other Titles: An electronic dimming ballast for fluorescent lamps
Authors: คณิต ชัยวัฒนา
Advisors: ยุทธนา กุลวิทิต
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
Advisor's Email: Youthana.K@chula.ac.th
Subjects: หลอดไฟฟ้า
บัลลาสต์
การเรืองแสง
Issue Date: 2543
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: วิทยานิพนธ์นี้เสนอผลการศึกษาเสถียรภาพการควบคุมแสงและวงจรเพิ่มค่าตัวประกอบกำลังของบัลลาสต์อิเล็กทรอนิกส์ค่าตัวประกอบกำลังสูงที่สามารถควบคุมแสงของหลอดฟลูออเรสเซนต์ได้ การวิเคราะห์วงจรใช้สมการความสัมพันธ์ของกระแสและแรงดันของบัลลาสต์และสมการความสัมพันธ์ของกระแสและแรงดันของหลอดโดยใช้วงจรสมมูลสำหรับความถี่หลักมูลเพื่อคำนวณค่าความต้านทานพลวัตด้านออกและความไวในการควบคุมกระแสผ่านหลอดด้วยความถี่ของบัลลาสต์ที่ระดับความเข้มแสงต่างๆ กัน การคำนวณค่าต่างๆ ของวงจรมีการคำนึงถึงผลของความต้านทานพลวัตที่เป็นลบของหลอดฟลูออเรสเซนต์ในการคำนวณด้วย ในส่วนของวงจรเพิ่มค่าตัวประกอบกำลังที่ใช้วงจรเสมือนทบระดับ ได้มีการอธิบายการทำงานของวงจรที่แบ่งออกเป็น 4 ภาคการทำงาน และวิเคราะห์ผลของการควบคุมแสงของหลอดฟลูออเรสเซนต์ต่อพฤติกรรมการทำงานของบัลลาสต์โดยการจำลองการทำงานของวงจรด้วยคอมพิวเตอร์ การตรวจสอบความถูกต้องของผลการคำนวณทำโดยการเปรียบเทียบกับผลการคำนวณทฤษฎีกับผลการทดลอง
Other Abstract: Control stability in low light intensity range and power factor correction circuit of a single-stage high-power-factor electronic dimming ballast with frequency control was studied. Ballast V-I characteristic as well as lamp V-I characteristic were derived using fundamental frequency approximation analytical technique. Dynamic output impedance of the ballast and differential sensitivity of lamp current with respect to control frequency at the operating point were calculated. The effect of lamp's negative dynamic resistance was included in the calculations. Four operation modes of a quasi-boost power factor correction circuit were pressented. The effects of dimming operation on the different performance characteristics were investigated using computer simulation. The theoretical calculations were verified experimentally.
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543
Degree Name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิศวกรรมไฟฟ้า
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5900
ISBN: 9743471499
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
KANIT.pdf5.59 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.