Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60506
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | เดชฤทธิ์ นิลอุบล | - |
dc.contributor.author | อังคณา ตันติธุวานนท์ | - |
dc.contributor.author | ธิติมา ไตรพิพัฒน์ | - |
dc.contributor.author | อรรถพล มาดาป้อง | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2018-10-31T06:15:31Z | - |
dc.date.available | 2018-10-31T06:15:31Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60506 | - |
dc.description.abstract | การดำเนินงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตต้นแบบดีเอ็นเอวัคซีนเพื่อป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสพีอาร์อาร์เอส โดยดีเอ็นเอต้นแบบที่ผลิตขึ้นมีส่วนประกอบของยีน ORF5 ของไวรัสพีอาร์อาร์เอสที่มีการแทรกยีน PADRE ระหว่าง decoy epitope และ neutralizing epitope และศึกษาประสิทธิภาพของดีเอ็นเอวัคซีนต้นแบบนั้นในการกระตุ้นสร้าง neutralizing antibody แบ่งการวิจัยออกเป็น 3 ส่วนประกอบด้วย การผลิตดีเอ็นเอวัคซีน การทดสอบขนาดที่ใช้และการทดสอบประสิทธิภาพการกระตุ้นภูมิคุ้มทั้งโดยวัดจาก serum neutralization และ lymphocyte proliferative assays ในภาคสนาม ผลการทดลองพบว่าดีเอ็นเอวัคซีนที่พัฒนาขึ้นสามารถกระตุ้นสร้างแอนติบอดีและกระตุ้นให้เกิดการตอบสนองของเซลล์ลิมโฟไซต์เมื่อวัดโดยวิธี serum neutralization และ lymphocyte proliferative assays แต่ผลการตอบสนองช้าและไม่สูง ดังนั้นจึงอาจต้องดำเนินการวิจัยต่อเพื่อพัฒนาดีเอ็นเอวัคซีนให้มีประสิทธิภาพที่ดียิ่งขึ้น | en_US |
dc.description.abstractalternative | The objectives of the study were to develop a DNA vaccine against porcine reproductive and respiratory syndrome. The DNA vaccine was developed using ORF5 gene. PADRE was inserted into positions between decoy and neutralizing epitopes. The study was divided into 3 parts including the development and production of the plasmid DNA, dosage determination and a field trial. The results of the study demonstrated that the plasmid DNA was successfully developed and produced. However, the immune responses induced as measured by serum neutralization and lymphocyte proliferation assay were low and delayed. In conclusion, although the DNA vaccine was successfully developed, the further development including the aspects of increased robust and higher magnitude of immune response is needed. | en_US |
dc.description.sponsorship | ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน ประจำปี 2557 | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.title | การทดสอบประสิทธิภาพของดีเอ็นเอวัคซีนในภาคสนามเพื่อควบคุมโรคพีอาร์อาร์เอส : รายงานการวิจัย | en_US |
dc.title.alternative | Field trial evaluating the efficacy of DNA vaccine in PRRSV control | en_US |
dc.type | Technical Report | en_US |
dc.email.author | Dachrit.N@Chula.ac.th | - |
dc.email.author | Angkana.T@Chula.ac.th | - |
dc.email.author | thitima.t@chula.ac.th | - |
dc.email.author | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Vet - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Dachrit N_Res_2557.pdf | 727.23 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.